Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3724
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนพวรรณ ศักดิ์เสรีนุกูลกิจ, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-05T06:42:46Z-
dc.date.available2023-03-05T06:42:46Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3724-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิผู้ต้องขังโดยศาลปกครองไทยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของผู้ต้องขัง ตามกฎหมายราชทัณฑ์ของประเทศไทยในปัจจุบัน ประกอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และศึกษาวิเคราะห์ถึงการควบคุมการใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์โดยองค์กรศาล ปกครองไทย เพื่อหาแนวทางการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของผู้ต้องขัง โดยศาลปกครองให้สอดคล้องกับหลักสากล การศีกษาค้นคว้าอิสระ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสาร โดยการค้นคว้าจากตัวบทกฎหมาย หนังสือหรือตำราทางกฎหมาย บทความทางกฎหมาย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ วารสาร บทความ และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เนต ผลการศึกษา พบว่า กรมราชทัณฑ์ซึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครองตามความหมายในมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มีนโยบายในการให้ความสําคัญกับการพัฒนาและสร้างมาตรฐานการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง โดยคำนึงถึงหลักสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในสังคมต่องานราชทัณฑ์แต่สาเหตุที่สำคัญส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดปัญหาการฟ้องร้องคดีต่อศาลปกครอง เกิดจากกฎระเบียบตามกฎหมายราชทัณฑ์เดิมไม่สอดคล้องต่อหลักสากล ซึ่งศาลปกครองเป็นองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทใช้มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนผู้ต้องขังได้ เพื่อใช้เป็นกรอบในการพัฒนาระบบการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังให้เป็นไปตามมาตรฐานชอบด้วยกฎหมายต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้ต้องหา--การคุ้มครองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleมาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิผู้ต้องขังโดยศาลปกครองไทยth_TH
dc.title.alternativeLegal measures in protecting prisoners' rights by Thai administrative courten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study which is about legal measures in protecting prisoners’ rights by Thai Administrative Court was aimed to study the principles of protecting prisoners’ rights based on the current Thai Corrections Laws of the Constitution of the Kingdom of Thailand and to analyze the control of power execution by the officials of Corrections under Thai Administrative Court to find some guidelines in protecting prisoners’ rights by Administrative Court to be in line with international principles. The method of study was qualitative research of documents by researching from laws, laws books or textbooks, legal articles, thesis, dissertation, journals, and other related documents, as well as information from the internet. According to the result of study, Department of Corrections, which is an administrative organization under Section 3 of Establishment of Administrative Courts and Administrative Court Procedure Act B.E.2542, has a policy to emphasize on developing and creating standards of how to treat prisoners by considering the principles of human rights and human dignity in order to build confidence of society towards Department of Corrections. However, part of the main reason that Administrative Court is being sued is because the existing rules of Corrections Laws are not in line with international principles while Administrative Court is an organization which takes the role in executing legal measures in protecting prisoners’ rights so as to be used as a framework in developing prisoners treatment system to follow the standard and become lawful furtheren_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons