Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/372
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเดชา ทำดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิราภรณ์ เตชะอุดมเดช, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T08:47:49Z-
dc.date.available2022-08-09T08:47:49Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/372-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาประสิทธิผลของการทำงานเป็นทีม ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง สภาพแวดล้อมหรือบริบทในการทำงานเป็นทีม องค์ประกอบและคุณลักษณะของทีม และ กระบวนการทำงานของทีม กับประสิทธิผลของการทำงานเป็นทีมของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) วิเคราะห์อำนาจในการทำนายของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการทำงานเป็นทีมของ พยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอยางเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ที่ถูกเลือกโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น จำนวน 181 คน เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป แบบสอบถามปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการทำงานเป็นทีม ที่ผานการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 1.00 และค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96 แบบสอบถามประสิทธิผลการทำงานเป็นทีม ที่มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.94 และค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97 และแบบสอบถามปลายเปิดเกี่ยวกับอุปสรรคของการทำงานเป็นทีม และข้อเสนอแนะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ประสิทธิผลของการทำงานเป็นทีมของพยาบาลวิชาชีพอยู่ใน ระดับมาก (2) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหรือบริบทในการทำงานเป็นทีม องค์ประกอบ และคุณลักษณะของทีม กระบวนการทำงานของทีม มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างสูงกับประสิทธิผลของการทำงานเป็นทีมของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการทำงานเป็นทีมสามารถทำนายประสิทธิผลของการทำงานเป็นทีม ของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 68.2 อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.5en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล--การทำงานเป็นทีมth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการทำงานเป็นทีมของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting team work effectiveness of registered nurses, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.5en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study the effectiveness of teamwork of registered nurses, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, (2) to explore the correlation between the context of a team, composition and qualification of a team, a team process, and the effectiveness of teamwork, and (3) to analyze the predictive power of factors affecting the effectiveness of teamwork of registered nurses. The sample of this study included 181 registered nurses working at Maharaj Nakorn Chiang Mai hospital, and they were selected by the proportional stratified random sampling method. Two sets of questionnaires were used to collect data which comprised three sections: personal data, factors affecting the effectiveness of teamwork, and the effectiveness of teamwork. The content validity indexes of the questionnaires were 1.00 and 0.94 respectively. Cronbach's alpha reliability coefficients of these questionnaires were 0.96 and 0.97 respectively. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson product moment correlation, and simple linear regression analysis. The research findings were as follows. (1) Registered nurses rated the effectiveness of their teamwork at the high level. (2) There were positive and high correlations between the context of the team, composition and qualification of the team, the team process, and the effectiveness of teamwork (p < .001). Finally, (3) the factors affecting the effectiveness of teamwork predicted the effectiveness of teamwork of registered nurses, and this predictor accounted for 68.2 (R2 = 68.2, p < .001)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons