Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3741
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบth_TH
dc.contributor.authorนิชาภา จรัลคุณากร, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-05T07:58:44Z-
dc.date.available2023-03-05T07:58:44Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3741en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและหลักกฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินคดีแบบกลุ่มของต่างประเทศ ศึกษาแนวคิดและหลักกฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินคดีแบบกลุ่มของประเทศไทย ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินคดีแทนผู้ได้รับความเดือดร้อนเสียหายจำนวนมากจากเหตุเดียวกันในคดีปกครองของศาลปกครองไทย และเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการดำเนินคดีแทนผู้ได้รับความเดือดร้อนเสียหายจำนวนมากจากเหตุเดียวกันในคดีปกครองของศาลปกครองไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลจากตำรา บทความวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ คำพิพากษาและคำสั่งของศาลปกครอง และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง จากนั้นนำข้อมูลทั้งหมดมาตรวจสอบความถูกต้องแล้วจึงนำมาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลในการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า การดำเนินคดีแบบกลุ่มในคดีแพ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมีแนวคิดมาจากการดำเนินคดีแบบกลุ่มของประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งใช้ระบบไต่สวนในการดำเนินคดีแทนเอกชนที่ได้รับความเสียหายจำนวนมากจากข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายเดียวกัน และบทบัญญัติกฎหมายวิธีพิจารณาคดีปกครองของไทยไม่มีบทบัญญัติเรื่องการดำเนินคดีแทนผู้ได้รับความเดือดร้อนเสียหายจำนวนมากจากเหตุเดียวกันไว้โดยเฉพาะ เพียงแต่มีการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ทำให้ผู้ได้รับความเดือดร้อนเสียหายได้รับการพิจารณาพิพากษาไปในคราวเดียวกัน แต่ผลของคำพิพากษาผูกพันเฉพาะคู่กรณีเท่านั้น อีกทั้งมีบางคดีที่ศาลปกครองยอมรับเอาแนวคิดของการดำเนินคดีแบบกลุ่มมาใช้ในการดำเนินคดีแทนผู้ได้รับความเดือดร้อนเสียหายจำนวนมาก ผู้ศึกษาจึงเสนอแนะให้แก้ไขเพิ่มเติมระเบียบดังกล่าวเพื่อให้มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการดำเนินคดีแบบกลุ่มในคดีปกครองเพื่อให้ศาลปกครองมีเครื่องมือในการดำเนินคดีในกรณีที่มีผู้ได้รับความเดือดร้อนเสียหายจำนวนมากจากเหตุเดียวกันได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการฟ้องคดีในนามกลุ่มบุคคลth_TH
dc.subjectวิธีพิจารณาคดีปกครองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการดำเนินคดีแบบกลุ่มในคดีปกครองth_TH
dc.title.alternativeClass action in Administrative Casesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to study the concept and the principle of law relating to class actions of foreign countries, study the concept and the principle of law relating to class actions of Thailand, study and analyze the problem relating to legal proceedings in lieu of the large number of the troubled victims from the same events in administrative cases of the Administrative Court of Thailand, and propose and suggest the improvement and corrective guideline, rules and conditions relating to legal proceedings in lieu of the large number of the troubled victims from the same events in administrative cases of the Administrative Court of Thailand. This independent study is a qualitative research using documentary reserach method from the relevant positive laws, data from textbook, journal papers, researches, thesis, judgments and orders of the Administrative Court, and other relevant information. After that, the integrity of all data are verified and systematically analyzed to be used as studying data. The finding of the studying results indicated that the concept of the class action in civil cases in accordance with the Civil Procedure Code has been derived from class actions of the United States of America using inquisitorial system, legal proceedings in lieu of the large number of private individuals in trouble from the fact and the same matters of law. The positive law for administrative court procedure of Thailand has not enacted the particular legislation on legal proceedings in lieu of the large number of the troubled victims from the same events. The trial process has just been performed in order that the troubled victims have been considered and judged in the same time. However, the judgment results have been particularly binding with the litigants only. In addition, some cases of which the Administrative Court has accepted to apply the concept of class action in legal proceedings in lieu of the large number of the troubled victims. The researcher therefore has suggested to revise such regulation in order to enact the legislation relating to class action in administrative cases so that the Administrative Court shall have an instrument of legal proceedings in case of the large number of the troubled victims from the same events.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons