Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/377
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorอดุลย์ วงศ์สุจริต, 2502-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T01:59:37Z-
dc.date.available2022-08-10T01:59:37Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/377en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผ่นพื้นคอนกรีตโดยนำเอาเส้นใยผักตบชวามาเป็นวัสดุทดแทนทรายและหินโดยทำการศึกษาสมบัติการดูดซึมน้ำกำลังต้านทานแรงดัด และสมบัติการสะสมความร้อน เพื่อหาสูตรผสมที่ให้ผลการทดสอบดีและสามารถนำไปใช้งานได้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองโดยผลิตแผ่นพื้นคอนกรีตทางเท้าขนาด 40x40x4 เซนติเมตร ที่มีเส้นใยผักตบชวาทดแทนทรายและหินในอัตราส่วนต่างๆ ซึ่งพบวาแผ่นพื้นคอนกรีตทางเท้าที่สามารถขึ้นรูปและนำมาทดสอบมี 6 สูตร ได้แก่ สูตรทดแทนทรายร้อยละ 2.5 (PF2.5C), 5 (PF5C) และ 7.5 (PF7.5C) และสูตรทดแทนหินร้อยละ 2.5 (PFC2.5) นำไปทดสอบค่าร้อยละการดูดซึมน้ำ ค่ากำลังต้านทานแรงดัด และสมบัติการสะสมความร้อน แล้ววิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการทดสอบพบว่าค่าความต้านทานแรงดัดตามขวางเฉลี่ยของแผนพื้นคอนกรีตที่ผสมเส้นใยผักตบชวาทุกสูตรประมาณ 0.32 Mpa ซึ่งต่ำกว่าค่าที่กำหนดไว้ในมาตรฐาน มอก. 378 - 2531 การทดสอบค่าการดูดซึมน้ำ มีสูตรที่ผ่านมาตรฐาน 3 สูตร ได้แก่ PF2.5C, PF5C และ PFC2.5 มีค่าการดูดซึมน้ำ 3.67, 9.81 และ 9.02 ตามลำดับ ส่วนการทดสอบค่าการสะสมความร้อนพบว่าในช่วงเวลาที่อุณหภูมิอากาศร้อนที่สุดของวันคือช่วงเวลา 12.00-14.00 น. แผนพื้นทางเท้าสูตรทดแทนทรายร้อยละ 2.5 (PFC2.5) และสูตรทดแทนหินร้อยละ 2.5 (PFC2.5) มีสมบัติการสะสมความร้อนต่ำ สามารถถ่ายเทความร้อนได้ดีทำให้ลดอุณหภูมิของสภาพแวดล้อมได้ เมื่อศึกษาต้นทุนวัสดุมวลรวมของแผ่นพื้นคอนกรีตทางเท้าผสมเส้นใยผักตบชวา พบว่าไม่มีส่วนในการลดต้นทุนการผลิตแผ่นคอนกรีตทางเท้าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.40en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectแผ่นพื้นคอนกรีตth_TH
dc.titleการพัฒนาแผ่นพื้นคอนกรีตทางเท้าผสมเส้นใยผักตบชวาth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of pavement slabs with the mixture of water hyacinth fiberen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.40-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to use water hyacinth fibers as a replacement material for sand and stone in the development of concrete pavement slabs by studying the properties of water absorption, flexure resistance, and heat capacity. This is an experimental research. The 40 x 40 x 4centimeter concrete pavement slab samples with the mixture of water hyacinth fiber in different ratio. There were 6 formulas of water hyacinth fiber mixture concrete pavement slabs that can be formed properly and good for testing, namely PFC, PF2.5C, PF5C, PF7.5C, PFC2.5 and PFC. The specimens were conducted for testing the percentage of water absorption, flexure resistance, and heat capacity. The data were analyzed by using percentage, standard deviation, and Pearson correlation statistics. The test results for flexure resistance shown that all formulas of hyacinth fiber mixture gave low flexure resistance of 0.32 Mpa which were lower than the standard value of TIS 378-2531. The results of water absorption property from 5 formulas shown that lower percent of hyacinth fiber mixture gave lower water absorption. The formula of PF2.5C, PF5C and PFC2.5 gave the absorption of 3.67, 9.81 and 9.02 which are within the standard value. The test of heat capacity found that in the peak air temperature of the day around 12.00 to 14.00 pm, pavement slabs in the formula of sand replacement of 2.5 percent and formula of stone replacement of 2.5 percent had low heat capacity, and has good heat transfer, resulting in reducing surrounding temperature. The study on material cost analysis of the hyacinth fiber mixture concrete pavement found that the addition of hyacinth fiber in the concrete formula did not reduce the overall cost of concrete pavement slabsen_US
dc.contributor.coadvisorวันชัย ยอดสุดใจth_TH
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_155177.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons