Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/387
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อดิศักดิ์ สัตย์ธรรม | th_TH |
dc.contributor.author | กริ่งแก้ว เลาบุญเสถียร, 2505- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T04:33:06Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T04:33:06Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/387 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงความรู้ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ และการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (2) ศึกษาความแตกต่างของการเปลี่ยนแปลงความรู้ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติและการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ระหว่างปีวิจัยที่ศึกษา และ (3) ศึกษาปีวิจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงความรู้ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติและการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัยที่ได้รับการพัฒนาด้วยการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ปี พ.ศ. 2541 - 2544 จำนวน 300 คน ในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามกับประชากรทั้งหมด ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความแตกต่าง ค่าความแปรปรวนและค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่าบุคลากร (1) มีการเปลี่ยนแปลงความรู้ระดับปานกลาง มีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติในระดับมาก และมีการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในระดับปานกลาง (2) จำนวนครั้ง จำนวนเรื่องและความพร้อมแตกต่างกัน มีการเปลี่ยนแปลงความรู้แตกต่างกัน เพศ จำนวนครั้งและจำนวนเรื่องแตกต่างกัน มีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติแตกต่างกัน สถานที่ปฏิบัติงาน ความพร้อมและแรงจูงใจแตกต่างกัน มีการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) การเปลี่ยนแปลงความรู้และการเปลี่ยนแปลงทัศนคติมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับจำนวนครั้ง จำนวนเรื่อง และความพร้อม และการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความพร้อมและแรงจูงใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 จากผลการศึกษา บุคลากรสาธารณสุขชจังหวัดสุโขทัยให้การยอมรับการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม กระทรวงสาธารณสุขควรกำหนดนโยบายให้ทุกหน่วยงานภายในกระทรวงสาธารณสุขใช้ระบบการเรึยนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมในการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานในส่วนภูมิภาค | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บุคลากรสาธารณสุข--ไทย | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาบุคลากร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาทางไกล | th_TH |
dc.title | ผลกระทบของการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ต่อการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the learners , knowledge change, attitude change, and knowledge application; (2) to compare their knowledge change, attitude change and knowledge application, and (3) to study the factors affecting knowledge change, attitude change and knowledge application on Public Health. The population included 300 public health personnel in Sukhothai Province, who were enrolled in distance learning via satellite course during 1998-2001. Data collection was made by.conduction questionnaire survey and analyzed resulting in percentage, mean, t-test score, one-way ANOVA, and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. The research findings were; (1) moderate level of knowledge changes and its application, and high level of attitude change; (2) different numbers of attendance lesson titles, and readiness result in different knowledge application (p<0.05), different gender, the numbers of training, and lesson titles affecting different attitude change (p<0.05), different readiness in work place arrangement and motivation result in affecting different knowledge application (p<0.05); (3) knowledge and attitude change correlate positively with the numbers of training lesson titles and readiness, and knowledge application correlate positively with readiness and motivation with statistically significant level at 0.05. The suggestions were; public health personnel in Sukhothai Province accepted the mode of learning via satellites; the Ministry of Public Health should set a policy to use this mode of learning as a principle means to develop public health personnel in all regional agencies concerned | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมโภช รติโอฬาร | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License