Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชนth_TH
dc.contributor.authorบวรวิทย์ เจริญสิน, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T03:38:36Z-
dc.date.available2023-03-09T03:38:36Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3889en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง การออกหนังสือแสดงสิทธิที่ดินในเขตหวงห้าม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการหวงห้ามที่ดินของรัฐและการออกหนังสือแสดงสิทธิที่ดินของกฎหมายต่างประเทศและกฎหมายไทย เพื่อวิเคราะห์หลักเกณฑ์การกำหนดเขตหวงห้ามที่ดินและความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกำหนดเขตหวงห้าม กฎหมายที่ดิน กฎหมายที่ราชพัสดุ และวิเคราะห์ ปัญหาการออกหนังสือแสดงสิทธิที่ดินในเขต พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตหวงห้ามที่ดิน อำเภอปากน้ำโพ อำเภอพยุหะคีรี อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2479 ทั้งนี้ เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสม และสามารถนำมาปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเป็นธรรมภายใต้หลักนิติธรรมและหลักนิติรัฐบนความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางกฎหมาย การค้นคว้าอิสระฉบับนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ด้วยวิธีการวิจัย เอกสาร (Documentary Research) รวบรวมเอกสารกฎหมายต่าง ๆ จาก บทความ วิทยานิพนธ์ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ระเบียบ ข้อบังคับ คำพิพากษาฎีกา คำพิพากษาหรือคำสั่งศาลปกครอง คำวินิจฉัยคณะกรรมการกฤษฎีกา และกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งไทยและต่างประเทศมาเปรียบเทียบวิเคราะห์หาผลสรุปและนำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผลการวิจัยพบว่า ที่ดินในเขตพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตหวงห้ามที่ดินอำเภอปากน้ำโพ อำเภอพยุหะคีรี อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2479 รัฐได้ประกาศครอบคลุมพื้นที่เป็นจำนวนมาก เป็นที่ราชพัสดุ แม้ต่อมาในปัจจุบันทางราชการไม่ได้ใช้ประโยชน์ในที่ดินแล้วหรือ ไม่อาจเข้าไปใช้ประโยชน์ได้อีก เนื่องจากได้มีราษฎรเข้าครอบครองทำประโยชน์อยู่ ก็ไม่ทำ ให้สิ้นสภาพเป็นที่ราชพัสดุแต่อย่างใด และราษฎรซึ่งถือครองที่ดินในที่หวงห้าม ไม่ยอมรับกระบวนการพิสูจน์สิทธิของรัฐโดยการอ่านแปลภาพถ่ายทางอากาศ ทำให้ไม่สามารถออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินแก่ราษฎรได้ จึงเกิดกรณีพิพาทในเรื่องสิทธิในที่ดินระหว่างรัฐกับราษฎรว่าใครมีสิทธิในที่ดินมาก่อนกัน จึงควรปรับปรุงกฎหมายและการบริหารจัดการที่ดินหวงห้ามของรัฐ ขึ้นใหม่เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาได้ ซึ่งเชื่อว่าและน่าจะสามารถนำไปใช้กับที่ดินของรัฐ ขึ้นใหม่เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาได้ สามารถนำไปใช้กับที่ดินของรัฐแปลงอื่น ๆ ที่มีปัญหาและอุปสรรคอย่างเดียวกันได้เช่นกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกรรมสิทธิ์ที่ดินth_TH
dc.subjectที่ราชพัสดุth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleการออกหนังสือแสดงสิทธิที่ดินในเขตหวงห้ามth_TH
dc.title.alternativeIssue of land rights in the restricted areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to study concepts and theories of restricted area in states and issuing the land title under the Thai and International Laws. These are to analyze criteria for determining a restricted area and the relation between the restricted area laws, land law, state property law, analyze the problem of issuing a land title deed under the Royal Decree of restricted area in Paknampho District, Payukakiri District and Krokpra District, Nakonsawan Province B.E.2479, and search searching for the guidelines to improve the relevant legislation which may be and can be used to perform properly with fairness under the rule of law and legislation by equality. This independent study is the qualitative research conducted based on documentary research by collecting the legal documents through journals, research, Act of Parliament, Royal Decree, rules, regulations, judgments of supreme court, judgments of court orders, judgments of Juridical Council, and relevant legislations in Thai and to compare and analyze for drawing conclusion and offer a solution. The results of this independent study showed that the Royal Decree of restricted area in Paknampho District, Payukakiri District and Krokpra District, Nakonsawan Province B.E.2479 was announced by the government that the most area were under state property even though the current government did not take advantage of the land or make the benefit from the land because there were many people who took possession, but it was not a condition to change the status of state property in any way. The representatives of the restricted area did not accept the right of the state by aerial photo interpretation, in this case, it was not able to issue a land title deed to the people. This may have been the cause of land right confliction between the State and individual who had the right to the land before. It was not an ideal to improve or draft a new government bill and land management law of restricted area to solve the problems which could apply to the other types of land titles of the State which may have had the same problems or obstacles.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons