Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลิดส์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญเรือง เตชะวิวัฒน์กุล, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T04:13:07Z-
dc.date.available2023-03-09T04:13:07Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3895-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล เป็นการศึกษาปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลโดยมีวัตถุประสงค์ของการศึกษา ดังนี้ 1) เพื่อการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการกระจายอำนาจ การปกครองท้องถิ่น การตรากฎหมายระดับรอง การควบคุมการออกกฎหมายระดับรอง การออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล มาตรการการลงโทษ 2) เพื่อศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับการออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล 3) เพื่อศึกษาขอบเขตอำนาจในการออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 และระเบียบข้อบังคับของกระทรวงมหาดไทยที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 4) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการดำเนินการค้นคว้าเอกสาร ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเอกสาร โดยศึกษาวิเคราะห์จากเอกสารปฐมภูมิ ได้แก่ รัฐธรรมนูญ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลพระราชบัญญัติ กฎและระเบียบต่าง ๆ ตลอดจนเอกสารทุติยภูมิ ได้แก่ บทความทางวิชาการ รายงานการวิจัยและสื่ออิเลคทรอนิกส์สารสนเทศ (Internet) ที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวข้องกับประเด็นที่ศึกษาในครั้งนี้ ผลจากการที่ได้ศึกษาพบว่า การออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล เป็นการกระทำในทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย ตามมาตรา 71* มาตรา 67 และมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 ถือว่าเป็นกฎหมายลำดับรองมีสภาพบังคับเป็นการทั่วไปปัญหาการออกข้อบัญญัติในการกำหนดวิธีการตราข้อบัญญัติภายใต้รูปแบบและวิธีการออกตามกฎหมายจัดตั้งและถ่ายโอนภารกิจกระจายอำนาจภายใต้เงื่อนไขเละเทคนิคเฉพาะโดยไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมายกำหนดเรื่องนั้นและมีบทกำหนดโทษผู้ละเมิดที่ซ้ำซ้อนและขัดหรือแย้งกับกฎหมายแม่บท อาจนำไปสู่การเพิกถอนจากการออกข้อบัญญัติโดยมิชอบด้วยกฎหมายได้ ซึ่งไม่เป็นอิสระตามหลักการบริหารและกระจายอำนาจอย่างแท้จริง ฉะนั้น การออกข้อบัญญัติต้องเป็นไปตามแนวคิดการปกครองท้องถิ่นตามอำนาจหน้าที่และหลักการกระจายอำนาจอย่างแท้จริงและแก้ไขบทกำหนดโทษละเมิดข้อบัญญัติจากปรับผู้ฝ่าฝืนข้อบัญญัติเป็นโทษทางปกครองควบคู่โทษทางอาญาเพื่อให้ท้องถิ่นบริหารจัดการท้องถิ่นเองอย่างอิสระสามารถตอบสนองความต้องการและแก้ไขปัญหาของท้องถิ่นเองเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเจตนารมณ์ของกฎหมายแม่บทและเชิงพื้นที่อย่างเหมาะสมทันต่อการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ปัจจุบันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลth_TH
dc.title.alternativeLegal problem regarding issuance of regulations by Tambol administrative organizationsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on legal problem regarding issuance of regulations by Tambol Administrative Organizations aims to: 1) study concepts and theories of decentralization and local administration, the making of secondary laws, regulation of issuance of secondary laws, issuance of regulations by Tambol Administrative Organizations (TAOs) and punitive measures; 2) study laws on issuance of regulations by TAOs; 3) study the extent of issuance of regulations by the Tambol Administrative Organizations (TAOs) under the Tambol and TAOs Act, B.E. 2537 and its amendments up to the sixth issue, B.E. 2552, and rules issued by the Ministry of Interior Affairs under the Tambol and TAOs Act, B.E. 2537 and its amendments up to the sixth issue, B.E. 2552, the Public Health Act, B.E. 2535, the Building Control Act, B.E. 2522; and 4) analyze legal issues regarding issuance of regulations by TAOs. This independent study is a qualitative study, in which primary documents such as the constitution, laws on issuance of regulations by TAOs, Acts, rules and regulations and secondary documents such as academic articles, research reports and the Internet with content related to the studied subject matters. It was found that issuance of regulations by TAOs was a lawful administrative action according to Articles 71*, 67 and 68 of the Tambol and TAOs Act, B.E. 2537 and its amendments up to the sixth issue, B.E. 2552. They were considered secondary laws enacted for general enforcement. Issuance of regulations in the forms and methods of establishment of local authorities and transfer of duties for decentralization allowed special conditions and techniques as long as they do not conflict with existing laws. This may lead to improper revocation from laws, which is not independent under the true administrative and decentralization principles. Thus, the issuance of TAO regulations should be done following the concepts of local administration and decentralization. The law stating the penalty for violating TAO regulations should be amended, namely, violators of the regulations should receive both administrative and criminal penalties so that local administrative organizations are more independent in solving local problems. This will make the regulations truly respond to current situationsen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons