Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/391
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | คนองยุทธ กาญจนกูล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | อดิศักดิ์ สัตย์ธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | นารถฤดี ปากวิเศษ, 2510- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T05:40:18Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T05:40:18Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/391 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพึ่อศึกษา (1) สถานการณ์การออกข้อกำหนดท้องถิ่นตามมาตรการสุขาภิบาลอาหาร (2) สถานการณ์การบังคับใช้ข้อกำหนดท้องถิ่นตามมาตรการสุขาภิบาลอาหาร และ (3) ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดำเนินงานตามมาตรการสุขาภิบาลอาหาร ภายใด้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในจังหวัดยโสธร ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้ที่มีบทบาทเกี่ยวข้องในการดำเนินงานตามมาตรการสุขาภิบาลอาหารภายใต้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ของเทศบาลและ อบต. ทุกแห่ง ในจังหวัดยโสธร จำนวน 1,950 คน ระยะที่ 1 ทำการวิจัยเชิงสำรวจ โดยเลือกตัวอย่างแบบจัดชั้น จำนวน 289 คน ซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ละตำแหน่งที่เกี่ยวข้อง และเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ระยะที่ 2 การวิจัยเชิงคุณภาพโดยเลือกตัวอย่างซึ่งเป็นตัวแทนของหน่วยงานที่ศึกษาที่มีการออกข้อกำหนดท้องถิ่นตามมาตรการที่ศึกษาแล้วทุกแห่ง จำนวน 24 คน และเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุป ผลการวิจัย พบว่า เทศบาลเมืองออกและบังคับใช้เทศบัญญัติตามมาตรการที่ศึกษานี้แล้ว ส่วนเทศบาลตำบลออกและบังคับใช้เทศบัญญัติตามมาตรการที่ศึกษานี้ร้อยละ 62.0 และ อบต. ออกข้อบังคับตำบลตามมาตรการที่ศึกษานี้เพียงรอยละ 15.0 และบังคับใช้เพียงร้อยละ 66.7 ตัวอย่างที่ศึกษาให้ข้อมูลว่า ยังคงมีปัญหาและอุปสรรคในการออกและการบังคับใช้ข้อกำหนดท้องถิ่นตามมาตรการที่ศึกษานี้ทั้งในส่วนของเจ้าพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ผู้ประกอบการด้านอาหารและความตระหนักของผู้บริโภค ตัวอย่างที่ศึกษาในการศึกษาเชิงคุณภาพได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ราชการส่วนท้องถิ่นควรจะเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานในเรื่องนี้อย่างจริงจัง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | อาหาร--สุขาภิบาล | th_TH |
dc.subject | พระราชบัญญัติการสาธาณสุข | th_TH |
dc.title | ศึกษาการออกและการบังคับใช้ข้อกำหนดท้องถิ่น ตามมาตรการสุขาภิบาลอาหาร ภายใต้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดยโสธร | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to study ()) the situation on the enactment (2) the enforcement and (3) the problems, obstacles and recommendation for the further effective implementation of local regulations according to the Food Sanitation Act, under the Public Health Law 8.E.2535 of the Municipalities and the Subdistrict Administrative Organizations (SAOS) in Yasothon province. The population of the study was 1950 of local authority officers whose functional reponsibility related to the Food Sanitation Act of all Manicipalities and the SAOs in Yasothon Province. A total of 289 representatives of each related position were selected by stratified random sampling responded to a survey questionaire in phase I . For phase II, 24 participants were selected from the surveyed samplers as the representative of all organizations wltich had been implemented their local regulations according to the Food Sanitation Act An in-depth interview form was used for qualitative survey in this group. The statistical technique was applied to describe and analyse the quantitative data and qualitative data for the summary conclusion. The findings of the study showed that there were the enactment and the enforcement in the City Municipality , 62.5% in the Subdistrict Municipality. About 15.0% of the SAOs were enacted and 66.7% of the enactment were launched the enforcement measures. There were the problems and obstacles of the enactment and enforcement of their local regulations under the Food Sanitation Act relating to the local authority officers, food venders and food concern of consumers. The quality survey sampler provided suggestion that all local government authorities should strongly participate in the implementation of this matters | en_US |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License