Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3922
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินาฎ ลีดส์ | th_TH |
dc.contributor.author | ผุสดี สุดดี, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-09T08:42:35Z | - |
dc.date.available | 2023-03-09T08:42:35Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3922 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่องการได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่น ศึกษากรณีองค์การบริหารส่วนตำบลที่ยกฐานะเป็นเทศบาล มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคจากความแตกต่างของการกาหนดเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นต่อบทบาทหน้าที่ของสมาชิกสภาท้องถิ่น 3) เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาการได้มาซึ่งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลให้สอดคล้องต่อการยกฐานะเป็นเทศบาล การค้นคว้าอิสระเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาค้นคว้าจากอกสาร (Documentrary Research) โดยอาศัยแหล่งข้อมูลจากหนังสือหรือตาราทางกฎหมายที่ใช้ศึกษาตามสถาบันศึกษาในอดีตและปัจจุบัน งานวิจัยด้านกฎหมาย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ บทความที่ได้มีการแสดงความคิดเห็นทางด้านวิชาการและทางด้านกฎหมายทั้งในวารสารและสิ่งพิมพ์ของนักวิชาการและนักกฎหมาย การค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ตลอดถึงการสัมภาษณ์บุคคลผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความชัดเจนและเข้าใจดียิ่งขึ้น จากการศึกษาพบว่า การได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่นขององค์การบริการส่วนตำบลถือเขตหมู่บ้านเป็นเขตเลือกตั้ง แต่เมื่อยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นเทศบาลตำบลแบ่งเขตเลือกตั้งเป็นสองเขต ขาดความสอดคล้องและต่อเนื่องกันจึงวิเคราะห์ปัญหาด้านความเป็นผู้แทน อันได้แก่คุณสมบัติของสมาชิกสภาท้องถิ่น, ลักษณะต้องห้ามของสมาชิกสภาท้องถิ่น, การแบ่งเขตเลือกตั้ง, บทบาทหน้าที่ของสมาชิกสภาท้องถิ่นและจำนวนสมาชิกสภาท้องถิ่น และปัญหาความต่อเนื่องในการปฏิบัติหน้าที่ปรากฏว่ายังต้องปรับปรุงแก้ไขเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของสมาชิกสภาท้องถิ่น และประเด็นอื่น ๆ ของการได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลที่ยกฐานะเป็นเทศบาลมีข้อดี ข้อเสียที่แตกต่างกันดังนั้นเมื่อวิเคราะห์ถึงความแตกต่างแล้วประกอบกับผลจากการสัมภาษณ์ที่ได้รับ จึงได้ทำการเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2545 และพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สมาชิกสภาเทศบาล--การเลือกตั้ง | th_TH |
dc.subject | สมาชิกสภาตำบล--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | การได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่น : ศึกษากรณีองค์การบริหารส่วนตำบลที่ยกฐานะเป็นเทศบาล | th_TH |
dc.title.alternative | Acquisition of a local councilor : a case study raised as part of a municipality | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Independent study The acquisition of local councilors. A case study raised as part of a municipality. The following objectives: 1) to study the principles and concepts of the process is the local councilor 2) to study and analyze the problems and obstacles from the difference of the redistricting council of the role of local councilors and 3) to find out. Solutions Acquisition Council members to meet the Tambon Administrative cited as a municipality. Independent of this research is the study of the chest. (Documentrary Research) using the resources of legal textbooks, the study by the Institute in the past and present. Legal Research Master thesis article has reviews and scholarly legal journals and publications, both in academics and lawyers. Researching information on the Internet Throughout the interview, the person concerned. To achieve clarity and better understood. The study found that The acquisition of a portion of the district council of the Organization of the village is a borough. But when raised by a Municipal Subdistrict electorate divided into two districts. Lack of consistency and continuity, it analyzed the problems of representation. Including members of the local council, the prohibition of the district council, the constituency basis, the role of local councilors and members of the local council. And the continuation of duties appear to be revised on the property and the prohibition of local councilors. And other aspects of the acquisition of the council of the Tambon Administrative quoted as a municipality has many advantages. The disadvantages are different, so on average, the difference is attributed to the result of the interview was obtained. Therefore, propose to amend the provisions of the law, an elected member of the local council or local executive council and the 2545 and 2537 following the Tambon Administration Organization | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License