Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3930
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรพัชรนันท์ วิเชียรกุล, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-10T02:23:39Z-
dc.date.available2023-03-10T02:23:39Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3930-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา แนวคิดและเจตนารมณ์ของกฎหมายภาษีอากร เกี่ยวกับการกำหนดให้มีหน่วยภาษีในชื่อคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล วิเคราะห์และรวบรวมปัญหาเกี่ยวกับการจัดตั้งและการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ว่ามีปัญหาการดำเนินการอย่างไร กับเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาการจัดตั้งและการจัดเก็บภาษีเงินได้ดังกล่าว การศึกษาค้นคว้านี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) จากหนังสือ ตำรา บทความ คำสั่ง แนวปฏิบัติ แนววินิจฉัยของกรมสรพากร วิทยานิพนธ์ รายงานวิจัยต่าง ๆ ตลอดจนกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริงในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร เพื่อรวบรวมแนวคิด ทฤษฎีมาวิเคราะห์ทำความเข้าใจ รวมทั้งสรุป หาข้อเสนอแนะต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ควรแก้ไขประมวลรัษฎากรในหมวดภาษีเงินได้โดยเพิ่มคำนิยามของคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลในมาตรา 39 แก้ไขมาตรา 42 (14) ให้สอดคล้องกับคำนิยาม เพื่อแยกความคิดในความหมายของห้างหุ้นส่วนสามัญและคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และจัดทำคู่มือภาษีที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับคณะบุคคลทั้งหมด เช่น ความหมาย วัตถุประสงค์การจัดตั้ง กำหนดประเภทเงินได้ ความแตกต่างของสิทธิประโยชน์ทางภาษี เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้เสียภาษีและเจ้าพนักงานในการปฏิบัติหน้าที่จัดเก็บภาษีอากร ส่งผลต่อการจัดเก็บภาษีอากรของรัฐได้ตามเป้าหมาย อันเป็นลักษณะที่ดีของภาษีอากรตามหลักความแน่นอน หลักความประหยัด หลักการอำนวยรายได้ หลักประสิทธิภาพในการบริหาร และหลักความเป็นธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจัดเก็บภาษีth_TH
dc.subjectภาษีเงินได้th_TH
dc.titleปัญหาการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากรth_TH
dc.title.alternativeProblem on collection of the personal income tax of a non-juristic body of persons under the revenue codeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to study the concept and intention of the Revenue Taxes that involved the stipulation of a tax unit in the name of a non-juristic body of persons. Analyzed and collected the issues involved the establishment and levy the personal income tax of a non-juristic body of persons that there were issues how to carry out together with suggestion on solving the establishment and levy income taxes as above. The study was the qualitative research with the documentary research methodology from textbooks, articles, commands, regulations, contemplations of the Revenue Department, thesis, research reports including the real case study of the Revenue Department officers in order to collect the concepts and theories were analyzed to make understand including to summarize issues and suggestions. The study suggested that Revenue Code in Chapter 3 Income tax should be solved by adding the definition of a non-juristic body of persons in amendment section 39. Solved amendment section 42 (14) to conform the definition and to separate the meaning of an ordinary partnership and a non-juristic body of persons clearly and make tax manuals which contain the contents involved all persons such as meanings, objectives of establishment, stipulate the types of income, difference of tax benefits. To create the knowledge and understanding to the taxpayers and the officers on tax levy duty. It effected on tax levy of the state which was in line with the target that was a good character tax according to certainty economy, productivity, administrative efficiencies and equityen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons