Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorแพงพิชญ์ บุญเรือง, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-13T01:56:01Z-
dc.date.available2023-03-13T01:56:01Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4074-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง การอุทธรณ์ค่าทดแทนจากการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงโครงสร้าง ขั้นตอน วิธีการและแนวทางการกำหนดค่าทดแทนอสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืนของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เงินค่าทดแทน เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ และความบกพร่องของการกำหนดหลักเกณฑ์ของการพิจารณาอุทธรณ์เงินค่าทดแทนการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ การบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อเสนอแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสมเป็นธรรมในการแก้ไขปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการพิจารณาอุทธรณ์เงินค่าทดแทน เพื่อกำหนดเป็นแนวทางปฏิบัติได้ถูกต้องตามวิธีการที่กฎหมายกำหนดเอื้ออำนวยให้ความเป็นธรรม แก่ภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการวิจัยเอกสารเป็นหลัก รายงานการประชุมคณะกรรมการกำหนดราคาเบื้องต้น และรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ที่เกี่ยวข้องกับโครงการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ คำพิพากษาศาลฎีกา คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คำวินิจฉัยสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตำราทางวิชาการ ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความสารสนเทศจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้างขั้นตอนการกำหนดเงินค่าทดแทนตามกฎหมายว่า ด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์และแนวทางการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ และความบกพร่องของหลักเกณฑ์การกำหนดค่าทดแทน การพิจารณาอุทธรณ์ค่าทดแทนการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในการดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ค่าทดแทนความเสียหายจากการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ให้มีประสิทธิภาพเพื่อเสริมสร้างความเป็นธรรมในการพิจารณาอุทธรณ์ ค่าทดแทนการเวนคืน เป็นแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องตามวิธีการที่กฎหมายกำหนดเอื้ออำนวยให้ความเป็นธรรมแก่ภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectค่าทดแทนth_TH
dc.subjectอสังหาริมทรัพย์th_TH
dc.subjectการเวนคืนที่ดินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการอุทธรณ์ค่าทดแทนจากการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์th_TH
dc.title.alternativeThe appeal for the compensation expropriation of immovable propertyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the independent study are to study the structure, procedure, method and process of determining the amount of compensation of immovable property to be expropriated by an appeal commission, and analyse the causes of problems regarding the rule of appeal consideration for compensation of immovable property, and the law enforcement of expropriation. This study proposes the best way to solve problems concerning the appeal consideration and define practical legal rules in order to balance the justification between the right of an individual who has been expropriated and public benefit. This independent study is a qualitative documentary research composed of meeting reports of the compensation committee and appeal commission, judgments of the Supreme Judicial Court, judgments of the Supreme Administrative Court, and findings from the Council of State, textbooks, research papers and scholarly articles. In conclusion, the research finds the process of determining the amount of compensation according to the law and consideration of the appeal commission and the rule of appeal consideration for compensation of immovable property as stated in Immovable Property Expropriation Act, BE 2530 (1987) to be flawed. Thus, the study proposes an efficient improvement on the process of appeal consideration for compensation of immovable property expropriation, based on the principles of justice between the right of an individual and public benefit, and an enhancement in the capability of law enforcementen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons