Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนราวุธ นวลเกลี้ยง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-13T07:01:02Z-
dc.date.available2023-03-13T07:01:02Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4107-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์ความคิดเห็นของพนักงานและ ประชาชนผู้รับบริการเกี่ยวกับการบริการประชาชนของสถานีรถไฟหาดใหญ่ (2) ศึกษาวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรคในการบริการประชาชนของสถานีรถไฟหาดใหญ่ (3) เสนอแนวทางการพัฒนาการ บริการประชาชนของสถานีรถไฟหาดใหญ่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย พนักงานของสถานีรถไฟหาดใหญ่ จำนวน 20 คนและประชาชนผู้รับบริการจำนวน 364 คนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาและใช้วิธีการทาง สถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย คำส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้รับบริการมีความคิดเห็นว่าการให้บริการของสถานีรถไฟ หาดใหญ่ในภาพรวมพอใช้ได้ เมื่อพิจารณาแต่ละปัจจัยการให้บริการ พบว่า การให้บริการของ สถานีรถไฟหาดใหญ่ดีอยู่แล้ว 3 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านพนักงานผู้ให้บริการ ปัจจัยด้าน กระบวนการให้บริการโดยทั่วไป และปัจจัยด้านกระบวนการให้บริการด้านการโดยสาร ส่วนปัจจัย ด้านกระบวนการให้บริการด้านการสินค้า และปัจจัยด้านอาคารสถานีและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการ ให้บริการ ผู้รับบริการมีความคิดเห็นว่าการให้บริการทั้ง 2 ปัจจัยนี้อยู่ในระดับพอใช้ได้ (2) ปัญหา อุปสรรคในการบริการประชาชนที่สำคัญ คือ พนักงานมีจำนวนไม่เพียงพอ ข้อจำกัดของช่องทางใน การจองตั๋วรถไฟห้องน้ำสกปรกและที่จอดรถสำหรับผู้รับบริการไม่เพียงพอและไม่มีความสะดวก (3) ข้อเสนอแนะที่สำคัญ คือ ควรเพิ่มจำนวนพนักงานให้เพียงพอในการปฏิบัติงาน ยุบตำแหน่งงาน ที่ไม่สำคัญ และพัฒนาคุณภาพของพนักงานโดยเน้นให้พนักงานพูดจาไพเราะ มีความกระตือรือร้น มีอัธยาศัยดี และมีมนุษย์สัมพันธ์ ควรเพิ่มช่องทางในการจองตั๋วรถไฟให้มากขึ้น เช่น ผ่านทาง โทรศัพท์ หรือผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต ควรเพิ่มการคูแลรักษาความสะอาดให้ห้องห้ำมีความ สะอาดอยู่เสมอ ควรจัดที่จอดรถสำหรับผู้รับบริการให้เพียงพอและเป็นสัดส่วนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.351-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถานีรถไฟหาดใหญ่--การบริการth_TH
dc.titleการศึกษาเพื่อพัฒนาการบริการประชาชนของสถานีรถไฟหาดใหญ่th_TH
dc.title.alternativeA study on the development of people service delivery of Hat Yai Railway Stationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.351-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) analyze the opinion of staff and people who received the service on service delivery of Hat Yai Railway Station (2) study and analyze the problems and obstacles of service delivery of Hat Yai Railway Station (3) recommend the appropriate approach to improve people services of Hat Yai Railway Station. Samples for this research consisted of 20 staff of Hat Yai Railway Station and 364 service recipients. Instruments used to collect data were interviews and questionnaire. Statistical tools applied were frequency, percentage, mean, standard deviation and chi square. Content analysis was also conducted. Research results revealed that (1) opinions of people on the services received at Hat Yai Railway Station in general were in moderate level; when considered each aspect of services, it was found that the services of Hat Yai Railway Station were in satisfactory level in 3 aspects which were the staff who delivered the services, general service procedure, and passenger service procedure; meanwhile, opinion on parcel service procedure, facilities, and service equipment aspects were in moderate level. (2) major problems and obstacles were shortage of staff, limitation of ticket booking channel alternatives, dirty toilet, and inadequate and inconvenient parking area. (3) major recommendations were to increase number of staff; to cancel unnecessary positions and to improve quality of staff particularly on their well converse with customers, good hospitality, enthusiasm, and human relations; to increase ticket booking channel alternatives such as telephone or internet; to increase lavatory cleanliness; and to provide adequate parking area for service recipientsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105590.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons