Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/410
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอดิศักดิ์ สัตย์ธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรทิพย์ เชิดชูพงศ์ล้ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธงชัย วัลลภวรกิจ, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T07:16:18Z-
dc.date.available2022-08-10T07:16:18Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/410-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาททน้าที่ของเภสัชกรโรงพยาบาลทั่วไปตามความคาดหวังของผู้อำนวยการโรงพยาบาลทั่วไปภายใต้บริบทการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (2) ศึกษาความต้องการกำลังคนเภสัชกรโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ภายโต้บริบทการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การวิจัยเชิงสำรวจนี้ทำโดยการสอบถามความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงพยาบาลทั่วไปทุกแห่งรวม 67 แห่ง เพื่อทำบทบาทหน้าที่ซึ่งเภสัชกรโรงพยาบาลทั่วไปควรปฏิบัติ นำบทบาทที่ได้มาหาเวลามาตรฐานในการปฏิบัติด้วยวิธีการจับเวลาและการประมาณเวลาโดย ผู้เชี่ยวชาญ กลุ่มงานเภสัชกรรมโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี นำเวลาที่ได้มาวิเคราะห์หาภาระงานและจำนวนเภสัชกรที่ต้องมี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าที่เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ซึ่งเภสัชกรโรงพยาบาลทั่วไปควรปฏิบัติทั้งหมด 35 บทบาท ซึ่งมีค่าสัมประสัทธิ์อัลฟ่า เท่ากับ 0.9185 นาฬิกาจับเวลา แบบบันทึกเวลาและแบบประมาณเวลาโดยผู้เชี่ยวชาญ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทหน้าที่ของเภสัชกรโรงพยาบาลทั่วไปทั้งหมดได้รับการคาดหวังในระดับปานกลางและสูง โดยมีคะแนนเฉลี่ยระดับความคาดหวังโดยรวมอยู่ในระดับสูง บทบาทด้านการควบคุมค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาล (18 บทบาท) มีระดับความคาดหวังสูงสุดรองลงมา คือ บทบาทด้านการพัฒนาคุณภาพบริการ ( 9 บทบาท) และบทบาทด้านบริการระดับปฐมภูมิและสนับสนุนเครือข่ายบริการ (8 บทบาท) และ(2) ภาระงานต่อปีของเภสัชกรโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ในการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ซึ่งได้รับการคาดหวังให้ปฏิบัติมีทั้งหมด 29,913.40 ชั่วโมงการทำงานของคน และมีความต้องการกำลังคนเภสัชกรจำนวน 19 คนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเภสัชกรth_TH
dc.titleความต้องการกำลังคนด้านเภสัชกรของโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ตามบทบาทหน้าที่ซึ่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลทั่วไปคาดหวัง ภายใต้บริบทการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the roles of general hospital pharmacist expected by general hospital directors under the universal coverage program context; and (2) to determine the pharmacist manpower requirements of Phra Chom Klao 1 lospital under the universal coverage program context. The survey research design was employed by mailing questionnaires to all 67 general hospital directors in order to determine the general hospital pharmacist’s ideal roles. Based on the perceived roles, stop watch time motion study and time estimation by expert opinion were methods used to determine the standard time in Phra Chom Klao 1 lospital. Total workload and a number of pharmacist required were calculated based on the standard time. The instruments in this study were self- administrered rating- scale questionnaire on 35 ideal roles of general hospital pharmacist with Conbrach’s Alpha Coefficient of 0.9185, stop watch, time record form, and expert time estimation form. Data analysis was performed by using statistics as percentage, means, standard deviation, and ANOVA. The results showed that (1) all general hospital pharmacists’ roles were expected at moderate and high levels. The means of the overall roles expectation was at high level. The hospital cost control aspect (18 roles) was at the highest level followed by the service quality development aspect (9 roles) and the aspect of service and support to primary care unit (8 roles); and (2) The annual pharmacist workload in Phra Chom Klao Hospital based on the roles expected was 29,913.40 man-hour and the pharmacist manpower requirements was 19 pharmacistsen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77176.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons