Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/411
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภานุมาศ ขัดเงางาม | th_TH |
dc.contributor.author | จินตนา สุวิทวัส, 2508- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T07:24:33Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T07:24:33Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/411 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558 | th_TH |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสิทธิในการทําแท้ง วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการใช้สิทธิในการทําแท้งของหญิงตั้งครรภ์ที่ทารกในครรภ์มีปัญหาสุขภาพหรือความพิการ วิเคราะห์กฎหมายเกี่ยวกับการทําแท้งของหญิงตั้งครรภ์ที่ทารกในครรภ์มีปัญหาสุขภาพหรือความพิการตามกฎหมายประเทศไทยเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศฝรั่งเศส ประเทศเยอรมัน ประเทศอังกฤษ และนําผลการวิเคราะห์มาสังเคราะห์เป็นแนวทางแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวการทําแท้งของหญิงตั้งครรภ์ที่ทารกในครรภ์มีปัญหาสุขภาพหรือความพิการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น วิทยานิพนธ์เรื่องนี้เป็นการวิจัยทางนิติศาสตร์ (Legal research) โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร (Documentary research) จากหนังสือ ตํารา บทความ วิชาการ บทความวิจัยที่เกี่ยวกับสิทธิในการทําแท้งของหญิงตั้งครรภ์ที่ทารกในครรภ์มีปัญหาสุขภาพ หรือความพิการของประเทศไทยและกฎหมายของประเทศฝรั่งเศส ประเทศสหพันธรัฐ เยอรมนี ประเทศอังกฤษ และนําเสนอข้อมูลโดยวิธีการพรรณนาตามวัตถุประสงค์ ผลการวิจัยพบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่ทารกในครรภ์มีปัญหาสุขภาพหรือความพิการยังไม่มีสิทธิทําแท้งได้โดยชอบด้วยกฎหมายทําแท้งของประเทศไทย ส่วนกฎหมายทําแท้งของประเทศ ฝรั่งเศส ประเทศเยอรมนี และประเทศอังกฤษ หญิงตั้งครรภ์ที่ทารกในครรภ์มีปัญหาสุขภาพ หรือความพิการมีสิทธิทําแท้งได้โดยชอบด้วยกฎหมาย ดังนั้นจึงควรปรับปรุงแก้ไขประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2500 มาตรา 305 โดยบัญญัติเพิ่มเติมให้หญิงตั้งครรภ์ที่ทารกในครรภ์มีปัญหาสุขภาพ หรือความพิการมีสิทธิทําแท้งได้ และกระทําในสถานพยาบาลของรัฐโดยแพทย์ที่ได้รับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพเวชกรรม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.21 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การทำแท้ง | th_TH |
dc.subject | ทารกในครรภ์--ความผิดปกติ | th_TH |
dc.title | สิทธิในการทำแท้งของหญิงตั้งครรภ์ที่ทารกในครรภ์มีปัญหาสุขภาพหรือความพิการ | th_TH |
dc.title.alternative | Rights on abortion of pregnant women in case health problems or disabilities of fetus | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2015.21 | en_US |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.21 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study purposes to examine relevant rights with regards on abortion and to analyse problems and obstacles in exercising the rights on abortion of pregnant women in case health problems or disabilities of fetus.A comparative study is also carried out between existing domestic laws and the laws of France, Germany, and the United Kingdom in order to provide possible guidelines upon possible changes and improvements that it could be achieved for the laws governing such matter in Thailand. This study employs a qualitative research method of desk study, reviewing and examining sources and materials relating to abortion rights of the pregnant women in case health problems or disabilities of fetus. Documents and data regarding the particular laws of Thailand, France, Germany, and the United Kingdom are analysed and presented in descriptive manners. It is found that, within the Kingdom of Thailand, it is still illegal for the pregnant women to terminate the pregnancy regardless of possible signs of perils or malady born by the fetus. In contrast, such practice is lawful in France, Germany, and the United Kingdom. Thus, it is proposed that changes should be made to section 305 of the Thailand Criminal Code B.E.2500 legalising and allowing the aforementioned practice to be carried out by authorized physicians under state hospitals. It is unlawful for the pregnant women to abort her pregnancy in case health problems or disabilities of fetus, of which is found to be contradictory to the cases of France, Germany, and the United Kingdom. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วรรณวิภา เมืองถ้ำ | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib152078.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License