Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4143
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัญจนา ลินทรัตนศิริกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorระวิวรรณ์ โคตรภูเวียง, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-13T13:13:22Z-
dc.date.available2023-03-13T13:13:22Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4143en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องเศษส่วน ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปฏิบัติการ และ (2) เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปฏิบัติการ กับเกณฑ์ ร้อยละ 60กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านวังคางสูง จังหวัด อุดรธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 21 คน ได้มาโดยการสุ่ม แบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปฏิบัติการ เรื่องเศษส่วน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง เกษส่วน หลังเรียนโดย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปฏิบัติการ สูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน หลังการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์แบบปฏิบัติการ ไม่สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--อุดรธานีth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--คณิตศาสตร์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปฏิบัติการเรื่องเศษส่วนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านวังคางฮูง จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of hands-on mathematics learning activities in the topic of fractions on mathematics learning achievement of Prathom Suksa VI students at Wang Khanghung School in Udon Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativemathematics learning activities; and (2) compare mathematics learning achievement in the topic of Fractions after learning with Hands-on mathematics learning activities with 60 percent criteria. The research sample consisted of 21 Prathom Suksa VI students in an intact classroom of Wang Khanghung School in Udon Thani Province during the first semester of the 2013 academic year, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were learning management plans in the topic of Fractions using Hands-on mathematics learning activities and a mathematics learning achievement test. Statistics employed for data analysis was t-test. Research findings were that (1) the post-learning mathematics achievement in the topic of Fractions of the students who learned with Hands-on mathematics learning activities was significantly higher than their pre-learning counterpart at the .05 level; (2) the post-learning mathematics achievement in the topic of Fractions of the students who learned with Hands-on mathematics learning activities was not higher than 60 percent criteria.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_138646.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons