Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4154
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธวัชชัย สุวรรณพานิช | th_TH |
dc.contributor.author | ภาสันต์ เงาศุภธน, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-14T01:42:51Z | - |
dc.date.available | 2023-03-14T01:42:51Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4154 | en_US |
dc.description.abstract | การค้นคว้าอิสระ การใช้สิทธิและเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะตามกฎหมายการชุมนุมสาธารณะ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการใช้สิทธิเสรีภาพในการชุมนุมในที่สาธารณะ และศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคของการบังคับใช้กฎหมายการชุมนุมสาธารณะภายใต้รัฐธรรมนูญ ตลอดจนศึกษามาตรการทางกฎหมายเพื่อพิจารณาหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเนื่องมาจากการใช้บังคับกฎหมายชุมนุมสาธารณะ ทั้งนี้ เพื่อให้ทราบถึงข้อสรุปที่เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาการใช้สิทธิและเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะตามกฎหมายการชมนุมสาธารณะของประเทศไทย ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อไป การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพจากเอกสาร โดยเป็นการศึกษาจากตำราทางวิชาการในทางกฎหมายมหาชน การเมืองการปกครองเป็นหลัก โดยวิเคราะห์จากเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ข้อมูลจากเว็บไซต์ ทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ประกอบกับข้อมูลที่ผู้วิจัยได้รับจากประสบการณ์ตรงในการทำงานมาประกอบเป็นหลักฐานในการอ้างอิงมาวิเคราะห์ศึกษาเพื่อให้ทราบถึงผลสรุปของการวิจัยและแนวทางการปรับปรุงปัญหาเรื่องดังกล่าว ซึ่งผู้ศึกษามั่นใจว่าข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าเป็นข้อมูลที่แท้จริงและถูกต้องน่าเชื่อถือได้ ผลการศึกษาพบว่าการชุมนุมสาธารณะถือเป็นเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญบัญญัติรับรองไว้อย่างชัดเจน โดยตราบใดที่การชุมนุมนั้นเป็นไปโดยสงบ ปราศจากอาวุธ และไม่เป็นการแทรกแซงการใช้สิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่นเกินสมควรแล้ว รัฐมีหน้าที่ต้องให้ความคุ้มครองและอำนวยความสะดวกให้การจัดการชุมนุมเป็นไปด้วยดีและไม่ไปกระทบกระเทือนต่อการใช้สิทธิและเสรีภาพของประชาชนคนอื่น ๆ ที่ไม่ได้เข้าร่วมชุมนุมสาธารณะด้วย อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาวิเคราะห์พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันดังกล่าว และศึกษาเปรียบเทียบกับข้อมูลของต่างประเทศในบางประเทศนั้นพบว่า สภาพปัญหาและอุปสรรคที่ส่งผลกระทบต่อการใช้เสรีภาพในการชุมนุมในที่สาธารณะของประชาชนที่รัฐธรรมนูญบัญญัติรับรองไว้มีสาเหตุหลายประการ ทั้งในด้านขอบเขตของเนื้อหาของกฎหมาย ด้านผู้จัดการชุมนุมและผู้ชุมนุม ด้านการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ และด้านบทบาทหน้าที่ของศาล รวมทั้งด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเห็นควรให้มีเสนอแนะแนวทาง มาตรการ และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อพิจารณาป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเนื่องมาจากการใช้บังคับกฎหมายดังกล่าวให้เป็นไปโดยสอดคล้องกับหลักการสากลและเป็นการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามเจตนารมณ์ของกฎหมายต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สิทธิการชุมนุม | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | การใช้สิทธิและเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะตามกฎหมายการชุมนุมสาธารณะ | th_TH |
dc.title.alternative | Exercise of right and freedom of public assembly under public assembly law | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of the independent study on exercise of right and freedom of public assembly under Public Assembly Law are to study theoretical concept regarding to exercise of freedom in public assembly, and study and analyze problems and obstacles of enforcement of Public Assembly Law under constitution, as well as study legal measure in order to consider and find guideline of problem prevention and solution as the result of enforcement of Public Community Law so as to recognize the conclusion which is the guideline of problem solution on proper and effective exercise of right and freedom of public community under Public Community Law of Thailand accordingly. This independent study is a qualitative research from documents. The sources of research are from academic textbooks in public law, government politics by analyzing from related documents both in Thai language and foreign language, data from website via internet network, in accompany with data acquired from direct working experiences in order to support as referring evidence for analysis and study in order to recognize the conclusion of research and improvement guideline of problems in such issue. The researcher is assured that data acquired from research are actual, accurate and reliable data. The finding of the study indicated that public assembly has been regarded as freedom clearly warranted by the constitution as long as the said assembly is peacefully carried out without weapons and without unreasonable intervention on exercise of right and freedom of other person. The state should protect and facilitate assembly organizing without trouble and without impact on exercise of right and freedom of other people who do not participate in public assembly. However, according to the analytical study on Public Assembly Act B.E. 2558 (2015) which has been currently applied and the comparative study on foreign data of some foreign countries, the finding discovered that there were several causes of problem and obstacle situations affecting exercise of freedom in public assembly of people legislated and warranted by the constitution in the areas of scope of law content, assembly organizer and protestor, exercise of power by the authority, and role and duty of court, as well as other related areas. Therefore from the study it can suggest that guidelines, measures and processes for consideration on problem prevention and solution as the result of enforcement of the public assembly law shall be consistent with the international principle and conprofect individual right and freedom under it’s spirit. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License