Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4160
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ อุบลเหนือ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T02:10:40Z-
dc.date.available2023-03-14T02:10:40Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4160-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อ (1) การบริหารจัดการ (2) ปัญหา และ (3) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการของสำนักงานคลอง สานและสำนักงานเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร โดยนำ แพ็มส์-โพสคอร์บ ซึ่งประกอบด้วย 11 ด้าน ได้แก่ การบริหารนโยบาย การบริหารอำนาจหน้าที่ การบริหารคุณธรรม การบริหารที่เกี่ยวข้องกับ สังคม การวางแผน การจัดองค์การ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การอำนวยการ การประสานงาน การรายงาน และ การงบประมาณ มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้ง ผ่านการทดสอบ การหาความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.82 กลุ่ม ตัวอย่าง ถือ ประชาชนในพื้นที่ของสำนักงานเขตทั้ง 2 แห่ง จำนวน 1,287 คน กลุ่มตัวอย่างได้ตอบ แบบสอบถามซึ่งเก็บรวบรวมคนมาได้ 1,136 คน คิดเป็นร้อยละ 88.26 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด (1,287) ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้ใช้คอมพิวเตอร์และใช้สถิติ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาปรากฎว่ากลุ่มตัวอย่างของสำนักงานเขตทั้ง 2 แห่งมีความเห็นว่า (1) การ บริหารจัดการของสำนักงานอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัญหาที่สำคัญ คือ ด้านการบริหารที่ เกี่ยวข้องกับสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำนักงานเขตไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมใน กิจกรรมของสำนักงานเขต (3) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการที่สำคัญ คือ ด้านการบริหาร นโยบาย โดยสำนักงานเขตทั้ง 2 แห่ง ควรสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนด นโยบายด้วย ส่วนด้านการบริหารอำนาจหน้าที่ สำนักงานเขตทั้ง 2 แห่ง ควรพัฒนาและฝึกอบรม ผู้บริหารทุกระดับในเรื่องการควบคุมดูแลให้ข้าราชการปฎิบัคิหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายอย่าง เข้มงวด นอกจากนี้ ควรนำตัวแบบ PAMS-POSDCoRB ไปประยุกต์ใช้อย่างกข้างขวาง และใน อนาคต ควรศึกษาวิจัยหรือประมวลโดยรวบรวมและจัดหมวดหมู่ด้านต่าง ๆ ของตัวแบบดังกล่าวนี้ อันจะเป็นประโยชน์ในทางวิชาการต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.8-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานเขตบางรัก--การบริหาร.--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectสำนักงานเขตบางรัก--การจัดการ.--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectสำนักงานเขตคลองสาน--การบริหาร.--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectสำนักงานเขตคลองสาน--การจัดการ.--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบการบริหารจัดการระหว่างสำนักงานเขตคลองสานกับ สำนักงานเขตบางรักกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe comparison of management administration between the Offices of Klongsan District and Bangrak District of the Bangkok Metropolitan Administrationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.8-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were to compare the opinion of the samples on management administration, problems, and development guidelines of management administration of the Offices of Klongsan District and Bangruk District, using PAMS-POSDCoRB consisted of 11 factors:Policy, Authority, Morality, Society, Planning, Organizing, Staffing, Directing, Coordinating, Reporting and. Budgeting, as conceptual framework. This study was a survey research. Instrument used was questionnaire with reliability coefficient at 0.82. Samples were people in two district areas. Data of 1,136 or 88.26% of 1,287 questionnaires were gathered back. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research results revealed that the samples of both districts agreed at moderate level witfl the management administration, problems, and development guideline of management administration of their districts. The significant problem found was the management administration on the issues concerning the society, the District Offices provided no opportunities for the people to participate in the activities involving such issues. The significant development guidelines were (1) Policy: both District Offices should encourage the people in the area to participate in policy making; (2) Authority: both District Offices should develop and train their personnel at all levels so they could supervise and control the accomplishment of their subordinates’ duties; and (3) Budgeting; both District Offices should allow the people in the areas to audit their budget management; in addition, PAMS-POSDCoRB model should be generally used, research concerning the use of the model should be conducted to gather and classify the factors in the model, which would be beneficial to the academic study in the futureen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105657.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons