กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4227
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบth_TH
dc.contributor.authorฐาปกรณ์ บุญเกิดth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T07:27:40Z-
dc.date.available2023-03-14T07:27:40Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4227en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อวัดระดับองค์ประกอบของคุณภาพการบริการและความพึงพอใจคุณภาพการบริการของสำนักงานการขนส่งทางน้ำ สาขาอยุธยา (2) เพื่อเปรียบเทียบระดับองค์ประกอบของคุณภาพการบริการและความพึงพอใจคุณภาพการบริการ จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล (3) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคการบริการของสำนักงานการขนส่งทางน้ำ สาขาอยุธยา (4) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของสำนักงานการขนส่งทางน้ำสาขาอยุธยาการวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใชัในการวิจัยคือ ผู้รับบริการของสำนักงานการขนส่งทางน้ำ สาขาอยุธยา จำนวน 288 ตัวอย่าง เครื่องมึอที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสรัางขึ้น มี 3 ส่วน ตรวจสอบความตรงเชิงเนี้อหา โดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน มีค่าความเชี่อถึอได้เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใชัไนการวิเคราะห์ได้แก่ค่าความถี่ ค่ารัอยละ คำเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีทดสอบค่าเฉลี่ยของ LSD โดยใชัโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ประกอบของคุณภาพการบริการของสำนักงานการขนส่งทางน้ำ สาขาอยุธยา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ทั้ง 3 ด้านและระดับความพึงพอใจคุณภาพการบริการของสำนักงานการขนส่งทางน้ำ สาขาอยุธยา ทั้ง 10 ด้าน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (2) การเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจด้านคุณภาพการบริการและองค์ประกอบของคุณภาพการบริการ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลโดยผู้รับบริการที่มีเพศที่แตกต่างกัน มีความพึงพอใจด้านคุณภาพการบริการไม่แตกต่างกัน และผู้รับบริการที่มีอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรสลักษณะของผู้ใช้บริการ ระดับรายได้ที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจด้านคุณภาพการบริการและองค์ประกอบของคุณภาพการบริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) สภาพปัญหาและอุปสรรคการบริการของสำนักงานการขนส่งทางน้ำ สาขาอยุธยา ด้านการให้บริการคืออุปกรณ์โดยเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์มีปัญหา ด้านสถานที่ให้บริการคือห้องน้ำมีน้อย ด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์คึอไม่มีประชาสัมพันธ์ของสำนักงาน ด้านผู้ให้บริการคือผู้รับบริการรอคอยเจ้าหน้าที่ในการรับบริการเนื่องจากเจ้าหน้าที่ออกตรวจพื่นที่ (4) ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ ผู้นำหรือผู้บริหารจะต้องเพิ่มบทบาทในการบริหารงานภายใน รวมทั้งปรับปรุงสภาพแวดลัอมของหน่วยงานไวัให้พร้อมในการให้บริการและจะด้องมีการกำหนดวิสัยทัศน์ของหน่วยงานให้ชัดเจนและปรับปรุงหน่วยงานให้มีการเตรียมสถานที่วัสดุอุปกรณ์ให้พรัอมสำหรับให้บริการ การจัดสถานที่ที่ให้บริการสะอาดสวยงาม เพิ่มการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้บริการใดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เข้าใจได้ง่ายและเห็นได้ชัดเจน และต้องเพิ่มจำนวนช่องทางการบริการให้เพียงพอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.238en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี--ความพอใจของผุ้ใช้บริการth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการ : กรณีศึกษาสำนักงานการขนส่งทางน้ำสาขาอยุธยา กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment guidline to service qualities : a case study of the Marine Office Ayutthaya Branch Marine Departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.238-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) assess the level of service quality components and the satisfaction on service quality of the Marine Office,Ayutthaya Branch; (2) compare the levels of service quality components and the levels of satisfaction on service quality of service recipients classified by personal factors; (3) study the problems and obstacles of service of quality improvement of the service provision of the Marine Office, Ayutthaya Branch.;(4)Recommend the Marine Office, Ayutthaya Branch. This study was a survey research. The research sample consisted of 28 sendee recipients of the Marine Office, Ayutthaya Branch. The employed research instrument was a three-part questionnaire developed by the researcher. 2ts content validity was verified by three experts, and its reliability coefficient was .96. Statistics for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance, and LSD method for multiple comparison. A computer program was employed for data processing and analysis. Research findings were as follows: (1) All three service components of the Marine Office, Ayutthaya Branch were rated at the high level, and the satisfaction rating means for the quality levels of all 10 service aspects of the Marine Office, Ayutthaya Branch were at the high level. (2) Service recipients with different genders did not significantly differ in their levels of satisfaction with service quality; while those with different ages, educational levels, marital statuses, and incomes differed significantly at the .05 level in their levels of satisfaction with service quality and service quality components. (3) Problems and obstacles of service provision of the Marine Office, Ayutthaya Branch were as follows ะ on provided services, there were equipment problems, especially those of the computers; on facilities, the problem was the insufficiency of toilet rooms; on communications and public relations, the problem was the lack of public relations officer; and on the impact on service recipients, the problem was the service recipients having to wait for the officers because the officers were out on area inspection. (4) Recommendations for sendee quality improvement were as follows ะ the administrators should increase their roles in internal administration including improvement of the office environment to be in a better condition for service provision adequate materials and equipment; clear vision of the agency should be determined; public relations on the services should be upgraded with clear and easy to understand information bulletins; and the number of service channels should be increased to be sufficient for service provision.en_US
dc.contributor.coadvisorเสน่ห์ จุ้ยโตth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
105686.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.22 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons