Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจำปา ไขแสง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T08:03:22Z-
dc.date.available2023-03-14T08:03:22Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4235-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผล ในการปฏิบัติงานควบคุมของเจ้าพนักงานเรือนจำในเรือนจำกลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2) ศึกษาปัญหา และอุปสรรคในการปฏิบัติงานควบคุมของเจ้าพนักงานเรือนจำในเรือนจำกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มต้วอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ เจ้าพนักงานเรือนจำผู้ปฏิบัติงานควบคุมในเรือนจำกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 7 แห่ง รวมทั้งสิ้นจำนวน 246 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานควบคุม คือ 1) ปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลได้แก่เพศและรายได้พิเศษต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานควบคุมของเจ้าพนักงานเรือนจำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 0.05 ตามลำดับ 2) ปัจจัยด้านทรัพยากรการบริหารงานเรือนจำทุกด้าน ได้แก่ เจ้าพนักงานเรือนจำ งบประมาณ อุปกรณ์เครื่องมีอ อาคารสถานที่ และการจัดการ มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลในการ ปฏิบัติงานควบคุมของเจ้าพนักงานเรือนจำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3) ปัจจัยด้านการ วางระบบควบคุมที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานควบคุมของเจ้าพนักงานเรือนจำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้แก่ การจำแนกลักษณะผู้ต้องขัง การหาข่าว และการตรวจต้น ส่วนการเก็บอุปกรณ์เครื่องมือมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานควบคุมของเจ้าพนักงาน เรือนจำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานควบคุมที่พบ สูงสุดที่ผู้ตอบแบบสอบถามระบุมาคือ อัตรากำลังเจ้าพนักงานเรือนจำไม่เพียงพอในการปฏิบัติงาน รองลงมาคือ งบประมาณในการดำเนินงานควบคุมไม่เพียงพอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเรือนจำกลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ--พนักงานth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานควบคุม ของเจ้าพนักงานเรือนจำในเรือนจำกลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to the effectiveness of control operation of Prison Officers in Northeast Region Central Prisonth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were the (1) study the factors relating to the effectiveness of control operation of prison officers in the Central Prisons of the Northeast Region (2) study the problems and obstacles of the officers’ control operation in the Central Prisons of the Northeast Region Samples were 246 control officers of 7 prisons in Central Prisons of Northeast Region. Instrument employed to collect data was questionnaire. Statistical tools used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient Content analysis was also conducted. Research result revealed that (1) factors relating to the effectiveness of control operation were 1) personal characteristics factors including sex and monthly extra income which related to the effectiveness of the officers’ control operation at the 0.01 and 0.05 level of statistical significance, respectively, 2) all of managerial resource factors including prison officers, budget, equipment, facility and management related to the effectiveness of the officers’ control operation at the 0.01 level of statistical significance 3) control system factors which related to the effectiveness of the officers’ control operation at the 0.01 level of statistical significance were prisoner types classification, news searching, and inspection operation, while equipment storage related to the effectiveness of the officers’ control operation at the 0.05 level of statistical significance (2) the highest problem and obstacle specified by samples were insufficient man power followed by insufficient operational budget allotted to the prisonsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105688.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons