Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4259
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิริวรรณ ศรีพหล | th_TH |
dc.contributor.author | ดรุณ พิศาลสังฆคุณ, 2507- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-15T01:35:26Z | - |
dc.date.available | 2023-03-15T01:35:26Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4259 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอน เรื่อง พุทธประวัติ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนใช้และหลังใช้ ชุดการสอน เรื่อง พุทธประวัติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดจันแสน จังหวัด นครสวรรค์ และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อชุดการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดจันเสน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555จำนวน 27 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พุทธประวัติ (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (3) ชุดการสอน เรื่อง พุทธประวัติ และ (4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลจากการศึกษา ปรากฏว่า (1) ชุดการสอน เรื่อง พุทธประวัติ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.89 / 83.75 (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชุดการสอนในระดับมากที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | พุทธศาสนา--การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | พุทธศาสนา--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--นครสวรรค์ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาชุดการสอน เรื่อง พุทธประวัติ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ | th_TH |
dc.title.alternative | Development of an instructional package on the topic of the story of Buddha for Prathom Suksa IV students of Wat Chansen School in Nakhon Sawan Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | วิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to develop an instructional package on the topic of the Story of Buddha for Prathom Suksa IV students; (2) to compare the learning achievements of Prathom Suksa IV students before and after using the instructional package on the topic of the Story of Buddha; and (3) to study the satisfaction of Prathom Suksa IV students with the instructional package. The research sample consisted of 27 Prathom Suksa IV students studying in the second semester of the 2012 academic year at Wat Chansen School under the Office of Nakhon Sawan Primary Education Service Area 4, obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised (1) learning management plans on the topic of the Story of Buddha in the Social Studies, Religion and Culture Learning Area at Prathom Suksa IV level; (2) an achievement test for pre-testing and post-testing; (3) an instructional package on the topic of the Story of Buddha; and (4) a questionnaire on student’s satisfaction with the instructional package. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings revealed that (1) the developed instructional package was efficient at 82.89/83.75; (2) the students’ post-learning achievement was significantly higher than their pre-learning achievement at the .05 level; and (3) the students were satisfied with the instructional package at the highest level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_139386.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 26.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License