Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/425
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมทรง อินสว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภาณุมาศ เหลืองปัญญากุล, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T08:24:55Z-
dc.date.available2022-08-10T08:24:55Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/425-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียจากกระบวนการผลิตกรดอะมิโนโดยวิธีออสโมซิสผันกลับ โดยมีข้อกำหนดว่าวิธีออสโมซิสผันกลับมีประสิทธิภาพในการบำบัดบีโอดี ซีโอดี แอมโมเนีย-ไนโตรเจนและไนโตรเจนทั้งหมด ได้มากกว่าร้อยละ 70 ในการวิจัยได้มีการนำคอนเคนเสทที่ผ่านการต้มระเหยจากกระบวนการผลิตกรดอะมิโนมาปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียด้วยวิธีออสโมซิสผันกลับ โดยใช้แผ่นเยื่อกรองทำจากวัสดุโพลีเอไมค์เพื่อศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้คือ (1) เปอร์เซ็นต์แยกกลับที่เหมาะสม (2) ค่าความเป็นกรด-ค่างที่เหมาะสม (3) ค่าความดันที่เหมาะสม และ (4) ความเสถียร ของเพอร์มิเอทฟลักซ์และช่วงเวลา สำหรับการล้างแผ่นเยื่อกรองด้วยวิธีการล้างในระบบ ผลการวิจัยพบว่าระบบสามารถบำบัดบัดบีโอดี ซ็โอดี แอมโมเนีย-ไนโตรเจนและไนโตรเจนทั้งหมดได้มากกว่าร้อยละ 70 โดยมีสภาวะต่าง ๆ ดังนี้ (1) เปอร์เซ็นต์การแยกกลับที่ระดับ 50 (2) ค่าความเป็นกรด-ด่าง 6.0 (3) ความดันที่ 10x10 ปาสคาล (4) ความเสถียรของเพอร์มิเอทฟลักซ์ประมาณ 17 ลิตรต่อชั่วโมง-ตารางเซ็นติเมตร โดยมีช่วงเวลาสำหรับการล้างแผ่นเยื่อกรองทุกๆ 20 วันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectน้ำเสีย--การจัดการth_TH
dc.titleการปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียจากกระบวนการผลิตกรดอะมิโน โดยวิธีออสโมซิสผันกลับth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to study the improvement of wastewater from amino acid production by reverse osmosis method with the assumption that Biological Oxygen Demand (BOD), Chemical Oxygen Demand (COD), Ammonia Nitrogen (AN) and Total Kjeldahl Nitrogen (TKN) would be treated by reverse osmosis method for more than 70%. The condensate from the evaporation process of amino acid production was used as the feed solution in the improvement of wastewater by reverse osmosis method in this study. The membrane made of polyamide was used for investigation of the factors including (1) optimum % recovery (2) optimum pH (3) optimum operating pressure and (4) stability of permeate flux and duration for membrane cleaning by Clean In Pipe method. The result of study presented that BOD, COD, AN and TKN were treated more than 70% with the following condition (1) 50% recovery (2) pH 6.0 (3) optimum pressure at 10xl05 Pascal and (4) the permeate flux could be kept stable at 17 l/hr.cm‘ by cleaning of membrane every 20 daysen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77208.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons