Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4289
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิสุทธิ์ เดชสกุล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T02:59:04Z-
dc.date.available2023-03-15T02:59:04Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4289-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ต่อ (1) การบริหารจัดการ (2) ปัญหา (3) แนวทางการพัฒนา (4) การเปรียบเทียบภาพรวม และ (5) ภาพรวมแนวโน้มการบริหารจัดการด้านกำลังพลของสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมตาม แนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ทั้งนี้ได้ใช้แนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 6 หลัก เป็นกรอบแนวคิด ซึ่งประกอบด้วย (1) หลักนิติธรรม (2) หลักคุณธรรม (3) หลักความโปร่งใส (4) หลักความมีส่วนร่วม (5) หลักความรับผิดชอบ และ (6) หลักความคุ้มค่า การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่านการทดสอบหาความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม ที่ระดับ 0.913 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,102 คน คิดเป็นรัอยละ 91.83 ของกลุ่มตัวอย่างข้าราชการที่เป็นตัวแทนใน การตอบแบบสอบถาม แบ่งเป็น นายทหารชั้นสัญญาบัตร และ นายทหารชั้นประทวน รวมจำนวน ทั้งสิ้น 1,200 คน สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่ารัอยละค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที นอกจากนี้ ยังมีการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผู้เชี่ยวชาญโดยการสัมภาษณ์ตัวต่อตัว อีกด้วย ผลการศึกษาปรากฎว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่า สำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหมมีการบริหารจัดการด้านกำลังพลตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ทั้ง 6 หลัก และในการเปรียบเทียบภาพรวมการบริหารจัดการด้านกำลังพล พบว่า ในปัจจุบันสูงกว่า ในอดีต และสูงกว่าหน่วยงานของรัฐอื่นในระดับเดียวกัน ปัญหาที่สำคัญ คือข้าราชการบางส่วน ยังขาด จิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานด้านกำลังพล ได้แก่ ความซื่อสัตย์ สุจริต และการเสียสละเพื่อหน่วยงาน และส่วนรวม สำหรับแนวทางการพัฒนาพบว่าควรส่งเสริมให้ข้าราชการปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ จริงใจ ขยัน อดทน และมีระเบียบวินัย และควรมีการพัฒนาระบบเคริอข่ายสารสนเทศให้ สามารถเชี่อมต่อข้อมูลกันได้โดยตรง เพื่อให้กำลังพลสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้โดยสะดวกและ โปร่งใสนอกจากนี้ในอนาคตควรสนับสนุนให้มีการศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการกับ หน่วยงานของรัฐอื่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.235-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม--การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การบริหารจัดการด้านกำลังพลของสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีth_TH
dc.title.alternativeAn analysis of management administration in terms of personnel of the Office of the Permanent Secretary of Defence according to the good governance guidelineth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.235-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to analyze the opinions of the sample on (1) management administration (2) problems (3) development guidelines (4) overall comparison and (5) overall trends of management administration in terms of personnel of the Office of the Permanent Secretary of Defence according to the Good Governance Guideline. The framework guideline comprised of 6 factors: (1) Rule of Law (2) Morality (3) Transparency (4) Participation (5) Accountability and (6) Value of Money were applied as conceptual framework of this study. The study was a survey research using questionnaires passed pretest and checks of validity and reliability at 0.913. On samples of 1,102 commissioned and non-commissioned officers which were 91.83% of the total samples of 1,200 personnel. The data were statistically analyzed using percentage, mean, standard deviation, and t-test. In-depth interviews of with specialists with person to person interview' were also conducted. The results of the study revealed that the majority of the commissioned and non-commissioned officers moderately agreed that the Office of the Permanent Secretary of Defence had managed its personnel according to the 6 factors of the Good Governance Guideline. Overall personnel comparison of management administration revealed that current performances were rated higher Jian those of the past and those performed by other government agencies. The main personnel problems of management administration found from the study were that some personnel lacked of consciousness on personnel management implementation including truthfulness, honesty, and sacrifice for organization and public.The development guidelines were: the Office of the Permanent Secretary of Defence should promote truthfulness, responsibility, sincerity, industriousness, patience, and discipline among its personnel. The Office should also develop direct information exchange systems in form of networks so that its personnel could access information conveniently and transparently. Moreover, further comparative studies on management administration in terms of personnel should also be conducted with other government agenciesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105692.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons