Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4312
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัฒนา มัคคสมันth_TH
dc.contributor.authorชลิลลา บุษบงก์, 2494-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T03:54:12Z-
dc.date.available2023-03-15T03:54:12Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4312en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการพูดสื่อความหมาย ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมเล่นสำรวจสัตว์ท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างคือเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนอนุบาลยางชุมน้อย (หน่วยคุรุราษฎร์รังสรรค์) จังหวัดศรีสะเกษ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 22 คน ได้มา โดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดกิจกรรมเล่นสำรวจสัตว์ท้องถิ่นและ แบบวัดความสามารถด้านการพูดสื่อความหมายของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถด้านการพูดสื่อความหมายของเด็กปฐมวัยในภาพรวม หลังการจัดกิจกรรมเล่นสำรวจสัตว์ท้องถิ่นสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 เมื่อพิจารณาความสามารถในการพูดสื่อความหมายของเด็กปฐมวัยเป็นรายด้าน คะแนน เฉลี่ยด้านการพูดคำศัพท์ ด้านการพูดเป็นประโยค ด้านการพูดเรียงลำดับเหตุการณ์ และด้านการพูด เล่าเรื่องราว หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน--การสื่อสารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมเล่นสำรวจสัตว์ท้องถิ่นที่มีต่อความสามารถด้านการพูดสื่อความหมายของเด็กปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลยางชุมน้อย (หน่วยคุรุราษฎร์รังสรรค์) จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeEffects of local animals survey playing activities on communicative speaking ability of preschool children at Anuban Yangchum Noi (Nuay Kururasrungsun) school in Si Sa Ket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to compare communicative speaking abilities of preschool children before and after partaking in local animals survey playing activities. The sample comprised 22 preschool children studying at the second kindergarten level in the second semester of the 2011 academic year at Anuban Yangchum Noi (Nuay Kururasrungsun) School in Si Sa Ket Province, obtained by cluster sampling. The employed instruments were plans for local animals survey playing activities, and a communicative speaking ability test. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that the overall communicative speaking ability of preschool children after partaking in local animals survey playing activities were significantly higher than that before partaking in the activities at the .05 level. When aspects of communicative speaking ability of preschool children were considered, it was found that the post-experiment means on words speaking ability, sentences speaking ability, ordering of events speaking ability, and telling story speaking ability of preschool children partaking in local animals survey playing activities were significantly higher than their pre-experiment counterparts at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_130113.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons