Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4389
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิลปชัย บังศรี, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T08:32:16Z-
dc.date.available2023-03-15T08:32:16Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4389-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง ความเป็นกลางในการดำเนินการทางวินัยข้าราชการตำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงประวัติความเป็นมา ความหมาย แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับหลักความเป็นกลางในการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจ ปัญหาในการดำเนินการทางวินัยและหาแนวทางแก้ไขที่เหมาะสมให้การดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจให้มีความเป็นกลาง การศึกษาค้นคว้าอิสระ นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเอกสาร โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวม ค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้องจากตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ รวมทั้งเอกสารทางกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการทางวินัยข้าราชการตำรวจตลอดจนแนวคำวินิจฉัยของศาลปกครอง ผลการศึกษาพบว่า ผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจดำเนินการทางวินัยนอกจากจะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติตำรวจ พ.ศ. 2547 และกฎ ก.ตร. ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการทางวินัยข้าราชการตำรวจแล้ว ยังจะต้องปฎิบัติตามหลักความเป็นกลางหรือไม่มีส่วนได้เสียตามมาตรา 13 และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ซึ่งเป็นกฎหมายกลางที่วางหลักเกณฑ์ทั่วไปในการดำเนินการพิจารณาทางปกครองของเจ้าหน้าที่ และควรแก้ไขพระราชบัญญัติตารวจ พ.ศ. 2547 และกฎ ก.ตร. ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการทางวินัยข้าราชการตำรวจให้เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาผู้สั่งแต่งตั้งเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจดำเนินการทางวินัย และการแต่งตั้งกรรมการในคณะกรรมการต้องไม่แต่งตั้งจากบุคคลที่ซ้ำซ้อนหรือเป็นบุคคลที่เคยพิจารณา ในเรื่องนั้นมาแล้วth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าราชการตำรวจ--วินัยth_TH
dc.subjectความเป็นกลางth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleความเป็นกลางในการดำเนินการทางวินัยข้าราชการตำรวจth_TH
dc.title.alternativeThe impartiality of disciplinary actuation of policeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research in order to study about the history, implication, concept and theories. These are associated with the principal of impartiality of disciplinary actuation of police. Also the research study about the problem and finding process appropriate for resolving of disciplinary actuation of police in order to have neutrality. This independent study is a qualitative research which is research about document research. This research occurs from collection and studying of information from text, article, thesis, law document and pronouncement of administrative court which related with disciplinary actuation of police. The study result found the commander that who has authority about disciplinary actuation that he should followed to the National Police Act B.E.2547 and rules of police committee. Moreover, the commander should followed the principal of impartiality accordance to section 13 and 16 of the Administrative Procedure Act B.E.2539 which it was a neutral law that put the general guideline on the implementation of officer. In addition, the National Police Act B.E.2547 and rules of police committee were should resolved by the commander of appointment order is a commander who has authority about disciplinary actuation. Furthermore, the appointment of director shall not be appointed by redundancy person or person who had been considered in the past storyen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons