Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไพฑูรย์ มีกุศล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอฤเดช แพงอะมะ, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T11:36:38Z-
dc.date.available2022-08-10T11:36:38Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/449-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยทางจิตวิทยาและสภาพแวดล้อมที่มีต่อแนวคิดทางการเมืองและสังคมของ พระอาจารย์มั่น ภริทัตโค (2) สาระสำกัญของแนวติดทางการเมืองและสังคมของพระอาจารย์มั่น ฎริทัตโต (3) วัตรปฏิบัติของพระอาจารย์มั่น ภูริทัดโต ที่สะท้อนถึงแนวคิดทางการเมืองและสังคม (4) ผลกระทบจากแนวคิดทางการเมืองและสังคมของพระอาจารย์มั่น ภริทัตโต ผลการวิจัยพบว่า(1) ปัจจัยทางจิตวิทยาและสภาพแวดล้อมที่มีต่อแนวติดทางการเมืองและ สังคมของพระอาจารย์มั่น ฎริทัดโต มีส่วนสำกัญต่อการหล่อหลอมใท้พระอาจารย์มั่น ภริทัตโต มีความอดทน เข็มแข็ง ฉลาดรอบรู้ในการอบรมสานุศิษย์และประชาชนเมื่อตอนท่านเป็นผู้นำคณะสงฆ์ฝ่ายวิปัสสนาธุระและผู้นำกองทัพธรรม (2) สาระสำกัญของแนวติดทางการเมืองและสังคมของพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ประกอบไปด้วย สาระสำคัญ 2 ประการ ประการแรกการปกครองตนเองใท้ดีซึ่งหมายถึงการปกครองใจควบคุมให์มีศีลธรรมโดยเน้นที่กฎของศีลธรรม ผู้ปกครองที่มีคุณธรรมจะต้องทำเพื่อประชาชน ซึ่งถือได้ว่าเป็นการควบคุมประชาชนด้วยศีลธรรมหรือการปกครองโดยไม่ต้องปกครอง เป็นจุดเรั้มต้นของการเมืองและสังคม ประการที่สองพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ให์ความสำคัญกับความมั่นคงของรัฐเป็นอย่างยิ่ง ถือว่ารัฐเป็นหลักคำจุน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม เปรียบเหมือนกับ ก้อนเส้า 3 ก้อน ก้อนที่ 1 คือ ความเป็นชาติ ก้อนที่ 2 มีศาสนาทุทธเป็นศาสนาประจำชาติ ก้อนที่ 3 มีองค์พระมหากษัตริย์เป็นเอกอัครศาสนูปถัมภก หากขาดไปก้อนใดก้อนหนึ่ง จะขาดความสมบุรณ์ไป (3) วัตรปฏิบัติที่สะท้อนถึงแนวคิดทางการเมืองและสังคมของพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ท่านเป็นผู้บุกเบิกเส้นทางการแสวงหาโมกขธรรมหรือการหลุดพ้นของพระอริยเจ้าให้กับพระสงฆ์ที่เป็นลูกศิษย์ นอกจากนั้นเกิดการเตินธุดงค์เผยแผ่พระธรรมไปเกือบทั่วทุกภาคของประเทศยังสรัางประโยชน์ให้กับประชาชนของรัฐได้ตั้งมั่นอยู่ในหลักศีลธรรมมากขึ้น (4) ผลกระทบจากแนวคิดทางการเมืองและสังคมองพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ทำให้เกิดการพัฒนาชนบทใน 2รูปแบบใหม่ภายใต้แนวทางและวิธีการของพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ประชาชนในท้องถิ่นกันดารของไทยเห็นความสำกัญของความเป็นคนไทยสำนึกในความเป็นคนไทย และลดความขัดแย้งในกลุ่มชาติพันธุต่าง ๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.323-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมั่น ภูริทัตตเถระ, 2413-2492 -- ทัศนะทางการเมืองและสังคมth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพุทธศาสนากับการเมือง -- ไทยth_TH
dc.titleแนวคิดทางการเมืองและสังคมของพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโตth_TH
dc.title.alternativePolitical and social concepts of the Venerable Mun Puritatdoth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.323-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) psychological and environmental factors that affected the political and social concepts of The Venerable Mun Puritatdo; (2) the main points of the political and social concepts of The Venerable Mun Puritatdo; (3) moral obligations and work of The Venerable Mun Puritatdo that reflect his political and social concepts; and (4) the impact of the political and social concepts of The Venerable Mun Puritatdo. This was a qualitative research based on documents and interpretation of the literature. Data were analyzed using descriptive analysis. The results showed that (1) psychological and environmental factors had a major impact on shaping The Venerable Mun Puritatdo into a strong and patient person who was knowledgeable and clever in teaching Dharma to his disciples and the general population when he was a transcendental meditation leader and leader of the “Army of Dharma.” (2) the main points of the political and social concepts of The Venerable Mun Puritatdo consisted of 2 main principles: Firstly, to govern oneself well one must control one’s emotions and adhere to moral rules; virtuous administrators must work for the people; this is a way of controlling the citizens through morality or “governing without governing,” the starting point of politics and society. Secondly, The Venerable Mun Puritatdo also put a great deal of importance on political stability. He felt that state was a foundation to support politics, economy, and society. He said there were 3 pillars: nationality, Buddhism as the national religion, and the king as the head patron of the religion. If any of these 3 pillars are missing, there will be an imbalance. (3) The work of The Venerable Mun Puritatdo that reflects his political and social concepts arc his pioneering of the path to Nirvana to lead his disciples to enlightenment and his travels to almost all parts of the country, which helped encourage citizens to adhere to moral principles. (4) The impact of The Venerable Mun Puritatdo’s political and social concepts was the creation of a new model for rural development using his methods. People in disadvantaged parts of Thailand were able to see the value of being Thai citizens and to become more conscious of their Thai identity; and there was a reduction in the conflicts between different ethnic groups.en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107675.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons