Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4509
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธ์รักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนัทชา เถาสมบัติ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T07:49:03Z-
dc.date.available2023-03-16T07:49:03Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4509-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทัศนคติของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมใน เขตจังหวัดนครปฐมที่มีต่อค่าตอบแทน (2) เปรียบเทียบทัศนคติของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม ในเขตจังหวัดนครปฐมที่มีต่อค่าตอบแทนจำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัญหา อุปสรรคและเสนอแนะแนวทางแกัไขปัญหาการจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานโรงงาน อุตสาหกรรมในเขตจังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานจำนวน 398 คน จากโรงงานอุตสาหกรรมใน เขตจังหวัดนครปฐม อำเภอสามพราน จำนวน 24 โรงงาน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเสี่ยง 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ที-เทสต์ (t-tcst) และการวิเคราะห์ความ แปรปรวนแบบทางเดียว (ONE WAY ANOVA) และทดสอบความแตกต่างรายคู่ (LSD) ผลการวิจัยพบว่า (1) พนักงานมีทัศนคติต่อค่าตอบแทนโดยรวม อยู่ในระดับปาน กลาง และในส่วนกฎหมายที่เกี่ยวกับค่าจ้างขั้นต่ำอยู่ในระดับน้อย (2) คุณลักษณะส่วนบุคคลของ พนักงาน ในเรื่อง เพศ ระดับการศึกษาและตำแหน่งงานที่แตกต่างกันมีทัศนคติที่มีต่อค่าตอบแทน โดยรวม แตกต่างกัน ส่วน อายุ สถานภาพสมรส ระยะเวลาการทำงานในองค์กร และ รายได้ต่อ เดือนที่แตกต่างกันมีทัศนคติที่มีต่อค่าตอบแทนโดยรวม ไม่แตกต่างกัน (3) ผลการวิจัยที่ได้สามารถ นำไปใช้เป็นแนวทางในการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงาน โดยจะสามารถตอบสนองความ ต้องการของพนักงาน และควรให้ความสำคัญกับการอธิบาย สื่อสารและทำความเข้าใจกับพนักงาน เกี่ยวกับการจ่ายค่าตอบแทนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.356-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectค่าจ้าง--อุตสาหกรรมโรงงาน--ไทย--นครปฐมth_TH
dc.titleทัศนคติของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมในเขตจังหวัดนครปฐมที่มีค่าตอบแทนth_TH
dc.title.alternativeThe employees' attitude towards remuneration of the industrial plants in Nakhonpathom Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.356-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to (1) study the employee’s attitude towards remuneration of the industrial plants in Nakhonpathom Province. (2) compare the employee’s attitude toward remuneration of the industrial plants in Nakhonpathom Province classified by the personal characteristics. (3) study the problems and recommend the suggestions how to tackle the problem in terms of providing the remuneration to the employees of the industrial plants in Nakhonpathom Province. In this research, the sampling group was 398 employees from 24 industrial plants in Samphan district, Nakhonpathom Province. Data is collected by using questionnaires at the risk value of 0.95. Statistics employed for data analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, with ONE WAY ANOVA ANALYSIS and Least Significant Difference Method The research findings were (1) the employee’s attitude towards remuneration is at the average level while in the point of the labour law in terms of the minimum wage is at the low level; (2) the hypotheses testing, it is found that the differences of personal factors according to sex, educational background, and the level of position classifies the differences of employee’s attitude toward the remuneration. In contrast, that the differences of personal factors in terms of age marital status, duration of working and salary classifies no differences of employee’s attitude toward the remuneration; (3) the outcome of this research could be used as the vital information for improving the remuneration for the employees based on their needs. Moreover, it should be concerned to pay much in paying more attention regarding the remuneration system by providing the right information in the pattern of two way communicationen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107589.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons