Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชัย รัตนสกาววงศ์th_TH
dc.contributor.authorสุกิจ ยะคำ, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T09:14:39Z-
dc.date.available2023-03-16T09:14:39Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4539en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง การใช้อำนาจของผู้บริหารท้องถิ่นในการออกคำสั่งให้รองผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบทั่วไปนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการกระจายอำนาจ การปกครองท้องถิ่น การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรง การจัดตั้งคณะผู้บริหารท้องถิ่น และหลักการใช้อานาจทางปกครองของฝ่ายปกครอง (2) ศึกษากฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบทั่วไปและกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (3) ศึกษาวิเคราะห์คำพิพากษาศาลปกครองที่วินิจฉัยเกี่ยวกับการใช้อำนาจของผู้บริหารท้องถิ่นในการออกคำสั่งให้รองผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่ง (4) หาแนวทางการแก้ไขปัญหาการใช้อำนาจของผู้บริหารท้องถิ่นในการออกคำสั่งให้รองผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่ง การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสารโดยจะศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ได้แก่ กฎหมาย ตำรา วิทยานิพนธ์ บทความทางวิชาการ และแนวคำพิพากษาของศาลปกครองที่เกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจสั่งให้รองผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่ง และที่เกี่ยวข้องกับวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ผลการศึกษาพบว่า (1) การใช้อำนาจของผู้บริหารท้องถิ่นที่ออกคำสั่งให้รองผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่งเป็นการใช้อำนาจทางการเมืองท้องถิ่น และขาดลักษณะที่จะเป็นคำสั่งทางปกครอง (2) การวินิจฉัยให้การใช้อำนาจของผู้บริหารท้องถิ่นที่ออกคำสั่งให้รองผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่งเป็นคำสั่งทางปกครองตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ไม่สอดคล้องกับหลักการของกฎหมายปกครองที่มุ่งตรวจสอบดุลยภาพระหว่างการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพประชาชนและการรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมจากการใช้อำนาจทางปกครอง แนวทางในการแก้ไขปัญหามีดังนี้ (1) ศาลปกครองควรวินิจฉัยให้การใช้อำนาจของผู้บริหารท้องถิ่นที่ออกคำสั่งให้รองผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่งเป็นการใช้อำนาจทางการเมือง หรือ (2) ตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 4 วรรคสอง ของพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ยกเว้นไม่ให้นำพระราชบัญญัติฉบับนี้ไปใช้บังคับกับการใช้อำนาจออกคำสั่งดังกล่าวนี้ เพื่อให้เกิดความชัดเจนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการถอดถอนออกจากตำแหน่งth_TH
dc.titleการใช้อำนาจของผู้บริหารท้องถิ่นในการออกคำสั่งให้รองผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบทั่วไปth_TH
dc.title.alternativePower of Local Government executives regarding orders to remove deputy local executives from officesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the independent study on “The Power of Local Government Executives Regarding Orders to Remove Deputy Local Executives from Offices” are to (1) study concepts and theories on decentralization, local governments, election and forming team of local administrators and administrative power of local executives; (2) study the law on local governments of general types and the law on administrative procedures; (3) analyze the decisions of the Administrative Court on the matters relating to the orders of the local executives to remove deputy executives from offices; and (4) propose solution regarding the exercise of power of the local executives in removing deputy executives from offices. This study is a qualitative research by using documentary research methodology to collect data from laws, textbooks, researches, articles, and the related decisions of the Administrative Court. The result of study is that (1) the exercise of power of the local executives in removing deputy executives from offices is not an administrative but political character; and (2) the ruling that the order of the local executives to remove deputy executives from office is an administrative act under the Administrative Procedures Act B.E. 2539 is not consistent with the principles of administrative law that aims to make a balance between individual freedoms and liberties and public interests. The guidelines to solve the problem are that (1) the Administrative Court should decide that the exercise of power of the local executives in removing deputy executives from offices is a political character; and (2) it should promulgate the Royal Decree under section 4, paragraph two, of the Administrative Procedures Act B.E. 2539 to exempt the provisions of this law to this kind of orders.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons