Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4571
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุธีภัค วชิรโชติกุล, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T03:18:32Z-
dc.date.available2023-03-17T03:18:32Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4571-
dc.description.abstractการศึกษาพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พุทธศักราช 2553 นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดและวิวัฒนาการในการคุ้มครองสิทธิของเด็กและเยาวชนของต่างประเทศและประเทศไทย (2) เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์ของกฎหมายที่ในการปฏิบัติต่อผู้ต้องหาคดีอาญาซึ่งเป็นเด็กและเยาวชน 3) เพื่อศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จากการปฏิบัติต่อผู้ต้องหาเด็กและเยาวชนในชั้นสอบสวน 4) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นและหาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสอบสวนผู้ต้องหาเด็กและเยาวชน การค้นคว้าอิสระฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีการวิจัยเอกสารจากตัวบทกฎหมาย ตำรา วารสาร วิทยานิพนธ์ ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต และเอกสารต่าง ๆ ภายในประเทศและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องโดยวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นเละเปรียบเทียบกับกฎหมายของต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอังกฤษซึ่งถือเป็นต้นแบบในการแก้ไขปรับปรุงระบบความยุติธรรมสำหรับเด็กของประเทศไทยในปัจจุบัน จากการศึกษาพบ (1) การควบคุมตัวเด็กและเยาวชนโดยไม่คำนึงถึงความจำเป็น และระยะเวลาการผัดฟ้องแต่ละผัดนานเกินความจำเป็นจึงควรลดระยะเวลาผัดฟ้อง 2) กฎหมายไม่ไต้กำหนดถึงคุณสมบัติเกี่ยวกับประสบการณ์ของผู้ที่จะเป็นที่ปรึกษากฎหมายให้แก่เด็กและเยาวชนจึงควรกำหนดให้ที่ปรึกษากฎหมายจะต้องเคยว่าความคดีเด็กหรือเยาวชน (3) ไม่มีบทบัญญัติใดกำหนดให้บิดา มารดาหรือบุคคลที่เด็กไว้วางใจ หรือที่ปรึกษาที่เข้าร่วมนั้นสามารถให้คำปรึกษาไต้ ขณะสอบปากคำจึงควรกำหนดให้บุคคลเหล่านี้เข้าร่วมในการสอบปากคำและกำหนดหน้าที่ให้ชัดเจน (4) ไม่มีการกำหนดระยะเวลาในการสอบปากคำไว้ ทำให้บางคดีใช้เวลานาน อาจทำให้ผู้ต้องหาให้ข้อมูลไม่ชัดเจนและไม่เป็นประโยชน์ต่อคดี ดังนั้นการกำหนดระยะเวลาในการสอบปากคำจึงจำเป็นอย่างยิ่ง โดยในการสอบปากคำต้องละครั้งควรจะกำหนดระยะเวลาให้ ผู้ต้องหาเด็กหรือเยาวชนพักระหว่างการสอบปากคำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectศาลเยาวชนและครอบครัว--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleการสอบสวนเด็กและเยาวชนตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พุทธศักราช 2553th_TH
dc.title.alternativeInvestigation under the act on Family and Youth Courts and its Procedure B.E. 2010en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aims of this study on the Family and Juvenile Act and the Family and Juvenile Court Procedure, B.E. 2010 were to (1) study the concept and development in protecting the rights of children and youth in Thailand and abroad, (2) study the legal criteria on treatment of criminal suspects which is a juvenile, (3) study the problem of the treatment of juvenile in the investigation process, and (4) analyze problems and find solutions to the investigation of the juvenile. This independent study is a qualitative research by analyzing the legal texts, journals, research data, internet and various domestic and foreign related documents. A comparative study is made between Thai law and those of foreign countries, especially the United State and England, which, nowadays, regarded as role model for Thailand justice system on juvenile. The study reveals that 1) the detention of juvenile in custody and the lawsuit procedure are usually longer than necessary, 2) the law on Juvenile should require for the experienced legal counselor for the juvenile, 3) the law on juvenile should entitle for parents, trustee or legal counselor to provide advice during the interrogation, 4) there is no limited time in interrogation, which may result in the time-consuming lawsuit, and may make the accused’s statement unclear or useless in trial. Therefore, the duration of the interrogation should be set accordingly and the law should provide rest time for the juvenile during the interrogationen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons