Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4592
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภัฏฐิญา สิริบวรพิพัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุมน กุศเลิศจริยา, 2500- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-17T04:07:29Z | - |
dc.date.available | 2023-03-17T04:07:29Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4592 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ในการศึกษานี้ เพื่อศึกษาความหมายหรือขอบเขตของสิทธิในการฟ้องคดีปกครองในเงื่อนไขความเป็นผู้เดือดร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายในการดำเนินคดีปกครองของไทยและศึกษาเปรยบเทียบกับกฎหมายของต่างประเทศคือสาธารณรัฐฝรั่งเศส และสหพันธรัฐเยอรมัน เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจและเป็นประโยชน์สำหรับประชาชนในการใช้สิทธิฟ้องคดีได้อย่างถูกต้อง การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประเภทวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสารทางกฎหมาย คำพิพากษาของศาลปกครอง บทความและความเห็นของนักวิชาการทางกฎหมายปกครอง ตลอดจนเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง ผลจากการศึกษาพบว่า สิทธิในการฟ้องคดีปกครองในเงื่อนไขความเป็นผู้เดือดร้อนหรือเสียหาย หรือความเป็นผู้มีส่วนได้เสียในประเทศไทยคล้ายคลึงกับหลักการพิจารณาของประเทศฝรั่งเศส กล่าวคือ การฟ้องคดีปกครองเกี่ยวกับการกระทำทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและการละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควรใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาคือ “ประโยชน์เกี่ยวข้องหรือความเป็นผู้มีส่วนได้เสีย” อันเป็นการพิจารณาความหมายตามหลักความเป็นผู้เสียหายอย่างกว้าง ส่วนการฟ้องคดีปกครองกรณีความรับผิดทางละเมิดของฝ่ายปกครองและข้อพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองใช้เหลักเกณฑ์การพิจารณาคือ “เป็นผู้ที่สิทธิถูกกระทบกระเทือนโดยตรง” อันเป็นการพิจารณาความหมายตามหลักความเป็นผู้มีส่วนได้เสียอย่างแคบ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การฟ้องคดีในนามกลุ่มบุคคล | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง : ศึกษาเฉพาะกรณีความเป็นผู้เดือดร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ | th_TH |
dc.title.alternative | Conditions of filing administrative cases : specific study of negatively and inevitably affected people | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study is to determine the meaning or scope of the right to file an administrative cases when a person is troubled or damaged by unlawful administrative action by comparing Thai laws with laws of other countries such as France and Germany in order to create knowledge of proper ways of filing an administrative case for the public benefits. This study is a qualitative research. Type of document (Documentary Research) by study from legal documents, judgment of the court, articles and comments of legal academics as well as government documents, and other relevant academic documents. Results from the study found that the principles of the rights to file an administrative case when a person is troubled or damaged by unlawful administrative actions in Thailand were similar to those of people in France. The principles of filing an administrative case against somebody who has taken unlawful administrative actions and negligence duties are based on “related interests or being stakeholders” which is considered as a broad meaning of the damaged people. As for filing an administrative case against the tort and disputes of administrative contracts, only “people whose rights are directly affected or stakeholders” in a narrow meaning are considered. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License