Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4615
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรชัย รัตนวรรณี, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T07:14:31Z-
dc.date.available2023-03-17T07:14:31Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4615-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง พนักงานอัยการกับการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในการสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาหลักการ แนวคิด การคุ้มครองสิทธิของประชาชนตามรัฐธรรมนูญในการสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรม 2) ศึกษาหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอำนาจพนักงานอัยการในการสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรม 3) ศึกษาเปรียบเทียบเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในการสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรมกับกฎหมายต่างประเทศ 4) ศึกษาหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการชันสูตรพลิกศพของต่างประเทศ 5) ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบเกี่ยวกับอำนาจการสอบสวนของพนักงานอัยการไทยกับอัยการต่างประเทศคือ ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี 6) ค้นหาข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหากฎหมายอำนาจของพนักงานอัยการในการสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรม ให้สอดคล้องกับการคุ้มครองสิทธิประชาชนและหลักความยุติธรรม การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ การวิจัยจากเอกสารคือรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายต่างประเทศ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ. 2553 บทความทางวิชาการ เอกสารแนวการศึกษาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตลอดถึงการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตของไทยและต่างประเทศ ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่าการคุ้มครองสิทธิของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยในการสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรม ทำให้ทราบปัญหาข้อขัดข้องในการสอบสวน ที่กระทำโดยพนักงานสอบสวนแห่งท้องที่ที่พบศพเป็นผู้ทำการสอบสวน โดยเป็นเจ้าหน้าที่ในสังกัดหน่วยงานเดียวกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองหรือเจ้าหน้าที่ตำรวจ ซึ่งกระทำให้ตาย อาจทำให้การรวบรวมพยานหลักฐานไม่ครบถ้วน ทำให้การนำเสนอพยานหลักฐานต่อศาลไม่ครบถ้วนมีผลต่อการวินิจฉัยคดี ผู้วิจัยจึงเสนอให้พนักงานอัยการเป็นผู้สอบสวนในคดีดังกล่าว จะทำให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจกันและเกิดผลดีต่อการคุ้มครองสิทธิของประชาชนยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสิทธิของพลเมือง--การคุ้มครองth_TH
dc.subjectการสืบสวนคดีอาญาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleพนักงานอัยการกับการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในการสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรมth_TH
dc.title.alternativeProsecutors and protection of citizens' rights in extra judicial killing casesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on prosecutors and protection of citizens’ rights in extra judicial killing cases aims to: 1) study principles and concepts of protection of constitutional rights of people in respect of the investigation of an extra judicial killing cases; 2) study laws on power of prosecutors in extra judicial killing cases’ investigation; 3) study protection of constitutional rights of Thai people the investigation of an extra judicial killing cases compared with those of people of other countries; 4) study laws on autopsy (a post mortem) of other countries; 5) study investigative power of Thai prosecutors compared with that of prosecutors in France, Germany, Japan and South Korea; 6) study recommendations to solve problems regarding prosecutors’ power to investigate extra judicial killing cases for people’s rights protection and for justice. This is a qualitative study, in which documents were studied such as the Thailand’s Constitution, foreign laws, the Thai criminal procedure code, the Public Prosecutor Organization and Public Prosecutor Act, B.E. 2553, academic articles, handouts and guidelines of the Sukhothai Thammathirat Open University and data from Thai and international websites. It was found that protection of constitutional rights of Thai people in the investigation of an extra judicial killing cases showed that there were conflicts in investigations by the inquiry official in the locality where the body has been found. They were affiliated with the same work unit as administrative officers or police officers. Consequently, evidence was not collected thoroughly and presented in court. The author suggested that prosecutors should investigate these cases in order to create a balance of power and for better protection of people’s rightsen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons