Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/466
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอัจฉรา นันทะศรี-
dc.contributor.authorสิทธิพร ครามานนท์-
dc.date.accessioned2022-08-11T03:01:16Z-
dc.date.available2022-08-11T03:01:16Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), หน้า 1-14th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/466-
dc.description.abstractบทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอบทบาทของนักจิตวิทยาการปรึกษาในการส่งเสริมคุณลักษณะที่เป็นจุดแข็งของอาจารย์มหาวิทยาลัยที่อยูในภาวะหมดไฟในการทำงาน โดยคุณลักษณะที่เป็นจุดแข็งเป็นแนวคิดที่พัฒนามาจากจิตวิทยาเชิงบวก ซึ่งเป็นลักษณะนิสัยภายในตัวบุคคลที่มีองค์ประกอบของคุณลักษณะด้านบวกที่สามารถลดภาวะหมดไฟในการทำงานได้ เนื่องจากทำให้บุคคลเกิดความพึงพอใจในงาน มีความสุข ความผูกพัน เห็นคุณค่าของงาน และเพิ่มความหมายของชีวิตมากขึ้น จึงควรส่งเสริมคุณลักษณะที่เป็นจุดแข็งให้กับบุคคลที่อยู่ในภาวะหมดไฟในการทำงาน โดยเฉพาะกลุ่มของอาจารย์มหาวิทยาลัย โดยเนื้อหาของบทความประกอบด้วย แนวคิดเกี่ยวกับภาวะหมดไฟในการทำงาน แนวคิดของคุณลักษณะที่เป็นจุดแข็ง การให้การปรึกษาเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะที่เป็นจุดแข็งและลดภาวะหมดไฟในการทำงาน สำหรับบทบาทของนักจิตวิทยาการปรึกษาต่ออาจารย์มหาวิทยาลัยที่อยู่ในภาวะหมดไฟในการทำงานนั้น ควรส่งเสริมให้ผู้รับบริการได้ตระหนักถึงคุณลักษณะที่เป็นจุดแข็งที่มีอยู่ในตนเองผ่านขั้นตอนการให้การปรึกษา 8 ขั้นตอนร่วมกับเทคนิคต่าง ๆ ได้แก่ เทคนิคความจำเกี่ยวกับจุดแข็ง เทคนิคการบันทึกจุดแข็ง เทคนิคการ์ดจุดแข็ง เทคนิควงล้อชีวิต เทคนิคการนำสิ่งที่ดีเข้ามาในชีวิต เทคนิคหีบแห่งความหวัง และเทคนิคการเจริญสติth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectนักจิตวิทยาการปรึกษาth_TH
dc.subjectความเหนื่อยหน่าย (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.titleบทบาทของนักจิตวิทยาการปรึกษาในการส่งเสริมคุณลักษณะที่เป็นจุดแข็งของอาจารย์มหาวิทยาลัยที่อยู่ในภาวะหมดไฟในการทำงานth_TH
dc.title.alternativeRole of counselor for promoting character strengths of job burnout university lecturersth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis academic article aims to present the counselor's role in promoting character strengths to job burnout university lecturers. Character strengths, derived from positive psychology, are the positive aspects of an individual's inner personality that can help reduce job burnout. They can create work satisfaction, happiness, engagement, job appreciation, and meaningful life. Therefore, it is essential to promote character strengths to persons with job burnout, particularly university lecturers. This paper describes the concepts of job burnout, character strengths, and how to conduct counseling to promote character strengths and reduce job burnout. The counselor’s role for job burnout university lecturers is to encourage the clients to recognize their character strengths through an 8-step process together with various techniques, namely strength memories, strength journal, strength cards, wheel of life, taking in the good, the hope chest, and mindfulness exercisesen_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
44225.pdfเอกสารฉบับเต็ม303.45 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons