Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4698
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมยงค์ เชาวันกลาง, 2510-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-19T04:13:31Z-
dc.date.available2023-03-19T04:13:31Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4698en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความต้องการใช้สื่อการสอนวิทยาศาสตร์ของครูมัธยมศึกษา จังหวัดนครสวรรค์ และ (2) ศึกษาปัญหาในการใช้สื่อการสอนวิทยาศาสตร์ของครูมัธยมศึกษา จังหวัดนครสวรรค์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จำนวน 214 คน ที่ปฏิบัติการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ในโรงเรียนในจังหวัดนครสวรรค์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความต้องการการใช้สื่อการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ของครูมัธยมศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1)ความต้องการใช้สื่อการสอนวิทยาศาสตร์ของครูมัธยมศึกษา จังหวัดนครสวรรค์ มีดังนี้ (1.1) ความต้องการสื่อวัสดุ ประกอบด้วย ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ คือแบบฝึกปฏิบัติวิทยาศาสตร์และปริศนาทางวิทยาศาสตร์ และประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือห้องปฏิบัติการเสมือนจริง และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (1.2) ความต้องการสื่ออุปกรณ์ประกอบด้วย ประเภทสื่ออุปกรณ์ทั่วไป คือเครื่องฉายภาพสามมิติ เครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องขยายเสียง ประเภทสื่ออุปกรณ์วิทยาศาสตร์สาขาเคมี คือสารเคมีต่างๆ แบบจำลองโมเลกุล และชุดสเปกตรัม ประเภทสื่ออุปกรณ์วิทยาศาสตร์สาขาชีววิทยา คือชุดวัดการสังเคราะห์แสง เครื่องมือวัดความใสของน้ำ และเครื่องมือชุดโปโตมิเตอร์ และประเภทสื่ออุปกรณ์วิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์ คือชุดแม่เหล็กไฟฟ้า ชุดสนามแม่เหล็กหนืด และลวดความต้านทานเปลี่ยนค่า (1.3) ความต้องการสื่อห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ คือห้องทดลองชีววิทยา ห้องทดลองเคมี และ ห้องทดลองฟิสิกส์ (1.4) ความต้องการสื่อวิธีการสอนวิทยาศาสตร์ คือการทดลองประสบการณ์จริง และการจัดนิทรรศการ และ (2) ปัญหาการใช้สื่อการสอนของอาจารย์ พบว่ามีปัญหาด้านงบประมาณอยู่ในระดับมาก คืองบประมาณไม่เพียงพอในการบำรุงรักษาและซ่อมแซมสื่อการสอน ปัญหาการจัดการห้องวิทยาศาสตร์ยังไม่เป็นระบบ และปัญหาการ จัดงบประมาณล่าช้า นักเรียนมีความถนัดทางวิทยาศาสตร์แตกต่างกัน และความสนใจ/เจตคติของนักเรียนที่มี ต่อวิชาวิทยาศาสตร์ และสื่อมีจำนวนไม่เพียงพอกับความต้องการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา -- ไทย -- ศรีษะเกษth_TH
dc.subjectการอ่านขั้นประถมศึกษา -- ไทย -- ศรีษะเกษth_TH
dc.subjectภาษาไทย -- การอ่าน -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้เทคนิด KWL PLUS ที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านดอนหลี่ จังหวัดศรีษะเกษth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using KWL PLUS technique on reading comprehension ability in Thai language of Prathom Suksa V students at Ban Donlih School in Si Sa Ket provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_145727.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons