Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4718
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุษาวดี จันทรสนธิ | th_TH |
dc.contributor.author | สายฝน มีชัย, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-19T07:01:28Z | - |
dc.date.available | 2023-03-19T07:01:28Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4718 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างก่อนและหลังการจัดกิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ และ (2) ศึกษาคุณภาพโครงงานคณิตศาสตร์เรื่องความน่าจะเป็น กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านกาลึม จังหวัดอุดรธานี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จานวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 24 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดกิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น และแบบประเมินคุณภาพโครงงานคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดกิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ก่อนการจัดกิจกรรมโครงงานคณิตสาสตร์ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) คุณภาพโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็น ของนักเรียนอยู่ในระดับ ดี ถึง ดีมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์--การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--คณิตศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ผลการจัดกิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์เรื่อง ความน่าจะเป็นที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านกาลึม จังหวัดอุดรธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of mathematics project activities in the topic of probability on mathematics learning achievement of Mathayom Suksa III students at Ban Kaluem School in Udon Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare mathematics learning achievements in the topic of Probability of Mathayom Suksa III students before and after undertaking mathematics project activities; and (2) to study the quality of mathematics projects in the topic of Probability. The research sample consisted of 24 Mathayom Suksa III in an intact classroom obtained by cluster sampling from those studying in the first semester of the 2013 academic year at Ban Kaluem School in Udon Thani province. The employed research instruments were mathematics project activity management plans, a mathematics learning achievement test in the topic of Probability, and a mathematics project quality assessment form. Statistics for data analysis included the mean, standard deviation, and t-test. Research findings revealed that (1) the post-learning mathematics achievement in the topic of Probability of Mathayom Suksa III students who undertook mathematics project activities was significantly higher than their prelearning mathematics achievement at the .05 level; and (2) the qualities of mathematics projects were at the good to very good levels. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_138454.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License