Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/476
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | โนรสามีมี มาน๊ะ | - |
dc.contributor.author | จิตติมา ชอบเอียด | - |
dc.contributor.author | โรสนี จริยะมาการ | - |
dc.contributor.author | ศุภกิจ ประชุมกาเยาะมาต | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T03:47:59Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T03:47:59Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), หน้า 59-74 | th_TH |
dc.identifier.issn | 1905-4653 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/476 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD กับการเรียนแบบปกติ และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD กับเกณฑ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนศึกษาศาสตร์อิสลาม จังหวัดนราธิวาส ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จํานวน 64 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือตามเทคนิค STAD แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดังกล่าวของนักเรียนที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังจากได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | th_TH |
dc.subject | สถิติ | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.title | การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง สถิติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD กับการเรียนแบบปกติ | th_TH |
dc.title.alternative | Comparison of learning achievements on the topic of statistics of Mathayom Suksa II Students learning under STAD technique of cooperative learning and learning under traditional teaching method | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to compare mathematics learning achievements on the topic of Statistics of Mathayom Suksa II students learning under STAD technique of cooperative learning and learning under traditional teaching method, and to compare mathematics learning achievement on the topic of Statistics of Mathayom Suksa II students learning under STAD technique of cooperative learning with a criterion. The subjects of this study were 64 Mathayom Suksa II students of Sueksasat Islam School in Narathiwat province during the second semester of 2019 academic year obtained by cluster random sampling . The research instruments were learning management plans for the instruction under STAD technique of cooperative learning, learning management plans for traditional teaching method, and a learning achievement test. The data were analyzed using the mean, standard deviation and t-test. The findings were as follows: The mathematics learning achievement on the topic of Statistics of Mathayom Suksa II students who learned under STAD technique of cooperative learning was significantly higher than that of students who learned under the traditional teaching method at the .01 level of significance. Also, mathematics learning achievement on the topic of Statistics of Mathayom Suksa II students who learned under STAD technique of cooperative learning was significantly higher than the 70% prescribed criterion at the .01 level of significance | en_US |
Appears in Collections: | STOU Education Journal |
This item is licensed under a Creative Commons License