Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/484
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพัตรา แผนวิชิต | th_TH |
dc.contributor.author | บรรณรต ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา, 2529- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T06:08:18Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T06:08:18Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/484 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) ศึกษาถึงความหมาย แนวคิด ทฤษฎี วัตถุประสงค์ และหลักการที่เกี่ยวข้องกับการลงโทษปรับทางปกครอง 2) ศึกษาแนวทางในการกำหนดโทษปรับทางปกครอง และปัญหาเกี่ยวกับการกำหนดอัตราโทษปรับทางปกครองของประเทศไทย 3) เพื่อศึกษาแนวทางการกำหนดโทษปรับทางปกครองของต่างประเทศ และ 4) เสนอแนะแนวทางในการกำหนดโทษ ปรับทางปกครองที่เหมาะสมกับบริบททางเศรษฐกิจของประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสารจากตํารา บทความ วารสาร และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว ตลอดจนข้อมูลข่าวสารสนเทศทางอินเตอร์เน็ตและสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ผลการวิจัยพบปัญหาการบังคับโทษปรับทางปกครองของประเทศไทยหลายประการ คือ 1) ปัญหาโทษปรับไม่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) ปัญหาเกี่ยวกับการกำหนดโทษปรับโดยไม่่คํานึงถึงฐานะทางเศรษฐกิจหรือรายได้ของผู้กระทําความผิด 3) ปัญหาการกำหนดอัตรา โทษปรับทางปกครองที่ไม่สามารถยับยั้งการกระทําความผิดได้ เนื่องจากอัตราค่าปรับมีลักษณะตายตัว และมีอัตราตํ่าไม่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน โดยภาวะเงิน เฟ้อเป็นปัจจัยสําคัญ ที่ทําให้ค่าของเงินลดลงไปตามกาลเวลา 4) ปัญหาในเรื่องความเสมอภาคในการใช้โทษปรับจากความเหลื่อมลํ้าในด้านรายได้ และฐานะของผู้กระทําความผิด ผู้เขียนจึงได้เสนอแนะ แนวทางที่เหมาะสมในการกำหนดค่าปรับทางปกครองเพื่อให้กฎหมายสามารถมีผลบังคับใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบันโดยให้มีการคิดค่าปรับเป็นหน่วย ซึ่งจะเทียบจากราคาทองคําโดยเฉลี่ยทั้งปีในปีก่อน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.36 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ค่าปรับ | th_TH |
dc.subject | ค่าปรับ--กฎหมายและระเบียนข้อบังคับ | th_TH |
dc.title | แนวทางที่เหมาะสมในการกำหนดค่าปรับทางปกครอง | th_TH |
dc.title.alternative | Appropriate legal principles in determining administrative fines | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2018.36 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.36 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are to: (1) study meanings, concepts, theories, purposes and principles relating to imposition of administrative fines; (2) study Thailand's approaches to determining administrative fines and problems relating to determination of the administrative fines; (3) study foreign countries' approaches to determining administrative fines; and (4) propose approaches to determining administrative fines suitable for Thailand's economic context. This research is a qualitative research project, in which text books, articles, journals and statutes relevant to the subject matter, as well as information on the internet and electronic media in both Thai and foreign languages were studied Research results show several problems with Thailand's execution of administrative punishments as follows. (1) The administrative fines are not consistent with the country's economic and social conditions. (2) Problems relating to determination of fines regardless of economic status or incomes of offender. (3) Problems with determination of administrative fines, which fail to prevent offenses because the fine rates are fixed, low and unsuitable for the current economic and social conditions. Inflation is a significant factor contributing to devaluation of the currency over time. (4) Problems with equality in imposition of fines resulting from difference in income and statuses of offenders. Thus, the author proposes suitable approaches to determining administrative fines so that laws are properly enforced. Fines should be calculated in units based on an average gold price of the previous year. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วรรณวิภา เมืองถ้ำ | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib162003.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License