กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4890
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กฤษณา รุ่งโรจน์วณิชย์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ลัดดา พิศาลบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | กัลยา พ่วงเจริญ, 2526- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-24T07:27:39Z | - |
dc.date.available | 2023-03-24T07:27:39Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4890 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของเกษตรกรผู้ปลูกมะพร้าวในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2) ระดับความรู้ในการนำการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสาหรับพืชไปใช้ในการผลิตมะพร้าว 3) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของเกษตรกรกับความสามารถในการนำความเข้าใจการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชไปใช้ในการผลิตมะพร้าว ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรผู้ปลูกมะพร้าวส่วนใหญ่ มีอายุเฉลี่ย 55.99 ปี เป็นเพศหญิง จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา ใช้เงินทุนส่วนตัว และเกษตรกรมีการปลูกแบบพืชเชิงเดี่ยว มีผลผลิตมะพร้าวเฉลี่ย 656.98 ผล/ไร่/ปี เกษตรกรมีรายได้จากการจำหน่ายผลผลิตมะพร้าวเฉลี่ย 108,088.27 บาท/ปี ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการจัดการทำสวนมะพร้าวของเกษตรกรผู้ปลูกมะพร้าวมากที่สุดคือ แมลงศัตรูมะพร้าวระบาด 2) ระดับความรู้ด้านหลักปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชไปใช้ในการผลิตมะพร้าว เกษตรกรที่ได้รับการอบรมนำความรู้ไปใช้เป็นส่วนใหญ่ และเมื่อวัดผลการนำความรู้ไปใช้โดยภาพรวมสรุปได้ว่าปริมาณผลผลิตใกล้เคียงกับก่อนเข้าอบรม แต่มีคุณภาพสูงขึ้น 3) เพศ และประเภทการปลูกพืชแซมมีความสัมพันธ์ต่อการนำความรู้ด้านวัตถุอันตรายทางการเกษตรไปใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ประเภทการปลูกพืชแซมมีความสัมพันธ์ต่อการนำความรู้ด้านการขนย้ายในแปลงปลูกและเก็บรักษา รวมถึงการบันทึกข้อมูลและการตามสอบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.155 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มะพร้าว--การผลิต | th_TH |
dc.title | การจัดการการผลิตมะพร้าวในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหาร | th_TH |
dc.title.alternative | Coconut production management in Prachuap Khiri Khan Province adhering to good agricultural practice for food crop | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2014.155 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research was aimed to study 1) the characteristics of farmers who grew coconuts in Prachuap Khiri Khan Province, 2) level of knowledge about the implementation of good agricultural practice for coconut production, and 3) the relationship between farmers’ characteristics and their ability to implement the good agricultural practice for coconut production. This study was a survey research. The target population were 159 coconut farmers who had been trained in the Good Agricultural Practice for Food Crop course held under the Quality and Standard of Agricultural Products Development Project in the fiscal year 2013 budget. The instrument used in the research was structured interviews. The data were analyzed by computer program and statistics used were frequency, percentage, minimum, maximum, standard deviation and chi-square. The results showed that 1) The average age of coconut farmers was 55.99 years old, most of them were women, had completed elementary school, used private fund for coconut production and planted coconut as a monoculture. The average yield was 656.98 coconuts /rai /year (1 rai = 1,600 square meters) which made an average income of 108,088.27 Baht/year. The problem found in coconut production management was insect pest outbreak. 2) After training, most farmers implemented the knowledge of good agricultural practice for coconut production. The evaluation of knowledge implementation revealed that most of the farmers could implement the knowledge for coconut production. Coconut yield gained after training was similar to those produced before training but had better quality. 3) The relationship between gender and variety of multiple crop grown were related to the knowledge of agricultural hazardous materials usage at the statistically significant difference at the level of 0.05. The variety of plants used for multiple cropping also related to coconut transportation and storage together with data recording and traceability at the statistically significant difference at the level of 0.05. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Agri-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
148138.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.88 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License