Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4960
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัฒนา มัคคสมัน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอมรรัตน์ วรวงค์, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-25T08:29:34Z-
dc.date.available2023-03-25T08:29:34Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4960en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านจำนวนของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบอุปกรณ์ กลุ่มตัวอย่าง เป็นเด็กปฐมวัยที่มีอายุระหว่าง 5-6 ปี จำนวน 20 คน ที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนวัดห้วยไผ่ จังหวัดราชบุรี ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบอุปกรณ์ และแบบทดสอบวัดความสามารถด้านจำนวน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบอุปกรณ์ มีความสามารถด้านจำนวนสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกิจกรรมเข้าจังหวะth_TH
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบอุปกรณ์ที่มีต่อความสามารถด้านจำนวนของเด็กปฐมวัย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1th_TH
dc.title.alternativeThe effects of rhythmic and movement activities with equipment on numerical ability of preschool children in schools under Ratchaburi Primary Education Service Area Office 1th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the levels of numerical ability of preschool children before and after undertaking the movement and rhythm activities with equipment. The research sample consisted of 20 preschool children, aged 5 – 6 years, studying in the kindergarten 2 level during the first semester of the 2017 academic year at Wat Huay Phai School in Ratchaburi province, obtained by cluster sampling. The research instruments used were experience plans for movement and rhythm activities with equipment and a scale to assess numerical ability. The employed statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that the numerical ability level of preschool children after undertaking the movement and rhythm activities with equipment was significantly higher than their counterpart ability level before undertaking the activities at the .01 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_154741.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons