Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4972
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา บัวเกิดth_TH
dc.contributor.authorอรวรรณ ประวันนวล, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-25T13:15:36Z-
dc.date.available2023-03-25T13:15:36Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4972en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะด้านความมีจิตสาธารณะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช (ราชทัณฑ์อุปถัมภ์) กรุงเทพมหานคร และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้น ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช (ราชทัณฑ์อุปถัมภ์) จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ (1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะด้านความมีจิตสาธารณะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่สร้างขึ้น (2) แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษามีดังนี้ (1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะด้านความมีจิตสาธารณะสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช (ราชทัณฑ์อุปถัมภ์) ประกอบด้วย นิทานทั้งหมด 4 ตอน แต่ละตอนมีนิทานตอนละ 3 เรื่อง แต่ละเรื่องมีแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน คำชี้แจงการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กิจกรรมท้ายเรื่อง อธิบายคำศัพท์ เสียงดนตรีประกอบและภาพที่สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง และ (2) ผลการตรวจสอบคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้เชี่ยวชาญ มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.67 - 1.00 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์อยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectหนังสืออิเล็กทรอนิกส์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectหนังสืออิเล็กทรอนิกส์--การผลิตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะ ด้านความมีจิตสาธารณะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช (ราชทัณฑ์อุปถัมภ์) กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of an electronic book to enhance characteristic of public mindedness for Prathom Suksa VI students of Rattanakosin Sompoch (Ratchathan Upatham) School in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to develop an electronic book to enhance characteristic of public mindedness for Prathom Suksa VI students of Rattanakosin Sompoch (Ratchathan Upatham) School in Bangkok Metropolis; and (2) to verify quality of the developed electronic book. The research informants consisted of three experts and 10 Prathom Suksa VI students of Rattanakosin Sompoch (Ratchathan Upatham) School. The employed instruments for the study were (1) the developed electronic book to enhance characteristic of public mindedness for Prathom Suksa VI students; (2) a quality assessment form for the electronic book; and (3) a questionnaire on student’s satisfaction with the electronic book. Statistics for data analysis were the IOC index, mean, and standard deviation. The results of this study showed that (1) the electronic book to enhance characteristic of public mindedness for Prathom Suksa VI students of Rattanakosin Sompoch (Ratchathan Upatham) School contained four parts of tales each of which consisted of three tales; each tale contained a pre-test and a post-test, instructions for using the electronic book, end-of-lesson activities, background music, glossary, and illustration; and (2) results of quality verification by the experts showed that the IOC for content validity of the book were between 0.67 - 1.00; and the students’ satisfaction with the electronic book was at the highest level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159140.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons