Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรีย์ หรงจิตร, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T08:00:33Z-
dc.date.available2022-08-11T08:00:33Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/514-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินภาวะเสี่ยงต่อการพลัดตก หกล้มของผู้ป่วยสูงอายุ แผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า จังหวัดสมุทรสงคราม กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้พัฒนา ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพที่ทำหน้าที่ คณะกรรมการป้องกันการพลัดตกหกล้มของกลุ่มการพยาบาลจำนวน 26 คน และ 2) กลุ่มผู้ทดลองใช้ ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ แผนกผู้ป่วยใน จำนวน 56 คน การวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 โดยประเมินและอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มผู้ร่วมพัฒนาเรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้ป่วย สูงอายุ และสืบค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ระยะที่ 2 พัฒนาแบบประเมิน โดยประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มผู้พัฒนาจำนวน 2 ครั้ง จนได้แบบการประเมินและรูปแบบการประเมินที่กลุ่มผู้พัฒนาเห็นพ้องกัน และระยะที่ 3 นำแบบประเมินไปทดลองใช้โดยกลุ่มผู้ทดลองใช้ 2 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า แบบประเมินภาวะเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุ ประกอบด้วยการประเมินปัจจัยเสี่ยง 11 ปัจจัย คือ 1) อายุ 2) การเคลื่อนไหว 3) กำลังกล้ามเนื้อ 4) การมองเห็น 5) ระดับความรู้สึกตัว 6) ประวัติการหกล้ม 7) ได้รับยากลุ่มเสี่ยง 8) โรค/ปัญหาจากโรค 9) การขับถ่าย/กลั้นปัสสาวะไม่ได้ 10) สถานที่เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม และ 11) พื้นผิวห้อง/ทางเดิน มีการกำหนดรูปแบบการประเมินและจัดทำเป็นคูมือสำหรับผู้ประเมิน ในการทดลองใช้แบบประเมินของผู้ป่วยสูงอายุ พบวา ผู้ประเมินใช้เวลาในการประเมินเฉลี่ยต่อคน 3.35 นาที เวลาต่ำสุด 30 วินาที สูงสุด 9 นาที โดยมีค่าความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมินเท่ากับ 0.75 ผู้ใช้แบบประเมิน มีความเห็นว่า แบบประเมินใช้ง่าย สะดวก และช่วยให้สามารถประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในผู้ป่วยสูงอายุได้ดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.33-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--อุบัติเหตุ--การป้องกันและการควบคุมth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การดำเนินชีวิตth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบประเมินภาวะเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุ แผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า จังหวัดสมุทรสงครามth_TH
dc.title.alternativeThe development of a fall risk assessment for elderly patients at the in-patient unit in Somdetphraphutthaloetla Hospital, Samutsongkhram Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.33-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research and development was to develop a fall risk assessment for elderly patients at the In-patient Unit in Somdetphraphutthaloetla Hospital. The sample included two groups: the developer and the user. The former group comprised twenty-six professional nurses who worked as a committee of “Preventing Patients’ Falls” of the nursing department and the latter included fifty-six professional nurses who worked for the In-patient units. This study was divided into three phase. First, the developer group were assessed and trained at the workshop on risk factors and fall prevention in elderly patients and searching for related research articles. Second, tool development: two workshops were organized for the developer group to construct the form and the assessment model .Third, the tool was applied by professional nurses in the user group for two weeks. Data were analyzed by descriptive statistics and content analysis. The research findings were as follows. Eleven related research articles were selected.The form of fall risk assessment for elderly patients consisted of 11 risk factors: 1) age, 2) mobility, 3) muscle strength, 4) visuality, 5) a level of consciousness, 6) history of falls, 7) medications, 8) disease and related problems, 9) elimination / urine incontinence, 10) high risk of falling places, and 11) surface of floor / corridor. A handbook for users was developed. Third, the assessment form was applied. The average time for assessment done by each nurse was 3.35 minutes (min 30 seconds and max 9 seconds). The inter- rater reliability was 0.75. Professional nurses in the user group commented that the tool was practical and easy to use to assess fall risk factors in elderly patientsen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 151239.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons