Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5172
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปธาน สุวรรณมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | จิรศักดิ์ ศิลป์ประกอบ, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-29T08:09:25Z | - |
dc.date.available | 2023-03-29T08:09:25Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5172 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาผลกระทบทางการเมืองจากการกำหนดจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลที่กำหนดให้มีหมู่บ้านละ 2 คน (2) เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาและผลกระทบดังกล่าว ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลกระทบเชิงบวก คือ ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง เกิดการถ่วงดุลการใช้อำนาจทางการเมืองในหมู่บ้าน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้นาจัดกิจกรรมประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นต่างๆ พร้อมทั้งจัดสรรผลประโยชน์ต่างให้กับหมู่บ้าน (2) ผลกระทบเชิงลบ คือ เกิดความขัดแย้งภายในหมู่บ้านหรือระหว่างผู้นาในหมู่บ้าน ทำให้ประชาชนขาดการมีส่วนร่วมทางการเมือง เกิดความขัดแย้งในการจัดสรรผลประโยชน์งบประมาณต่างๆ เนื่องจากมีจานวนจากัด ในการเลือกตั้งสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลแต่ละครั้งมีการแข่งขันกันสูงใช้จ่ายเงินจานวนมาก ทำให้ไม่มีความไม่ปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน และเป็นการสร้างความนิยมให้กับประชาชนในการซื้อสิทธิ์ขายเสียง ข้อเสนอแนะ ควรแก้ไขกฎหมายให้แต่ละหมู่บ้านมีสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลตามขนาดของแต่ละหมู่บ้าน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง | th_TH |
dc.title | ผลกระทบทางการเมืองจากการกำหนดจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่บ้านละ 2 คน ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมจนถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | Political impac of setting the number of members of the Tambol Administrative Organization at two per moobaan : a case study of Tambol Administrative Organizations in Pak Chong District, Nakhon Ratchasima Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to: (1) study the political impact of setting the number of members of the Tambol Administrative Organization (TAO) at two per Moobaan; and (2) recommend ways to solve problems related to that impact. This was a qualitative research based on documentary research and data from in-depth interviews with 17 key informants, consisting of chairmen of TAO Councils, TAO members, TAO permanent secretaries, sheriffs, local officials, and academics in Nakhon Ratchasima Province. A structured interview form was used and data were analyzed descriptively. The results showed that: (1) The positive impacts were that the system promoted political participation among the people, it created a balance of power in the Moobaan or village, the TAO members led various local ceremonies and traditions, and they brought benefits to the village. (2) The negative impacts were that the system brought about conflict in the village, it detracted from people’s political participation, it caused conflict in the distribution of budget and resources, competition was strong and more money was spent on TAO elections, the security of people’s lives and assets were affected, and vote buying was encouraged. The recommendation to solve the problem is to let the number of TAO members representing each village be population-based. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
128248.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License