Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5175
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรวลัญช์ โรจนพล | th_TH |
dc.contributor.author | ปิยะ มีอนันต์, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-29T08:23:51Z | - |
dc.date.available | 2023-03-29T08:23:51Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5175 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการสื่อสารทางการเมืองผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของพรรคประชาธิปัตย์กับพรรคเพื่อไทยในช่วงการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2554 2) เพื่อเปรียบเทียบการสื่อสารทางการเมืองของพรรคประชาธิปัตย์กับพรรคเพื่อไทยผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ในช่วงการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 ผลการศึกษาพบว่า 1) การสื่อสารทางการเมืองของพรรคประชาธปีตย์กับพรรคเพื่อไทย ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟสบุคในช่วงการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 ทั้งสองพรรคมีการนำเสนอใน 5 ด้าน คือ (1) การนำเสนอตัวบุคคลที่จะเป็นนายกรัฐมนตรี (2) การนำเสนอนโยบายของพรรค (3) การแสดงข่าวสารการเคลื่อนไหวของพรรค (4) การวิจารณ์พรรคคู่แข่งหรือฝ่ายตรงข้าม (5) การแจ้งข่าวสารและกิจกรรมของพรรค โดยประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นผ่านทางเฟสบุคของแต่ละพรรคได้อย่างเสรี แต่เป็นที่สังเกตว่าข้อแสดงความคิดเห็นที่ปรากฎบนเฟสบุค จะเป็นข้อความที่สนับสนุน ชื่นชม หรือชื่นชอบและให้ข้อคิดเห็นกับการสื่อสารทางการเมืองของทั้งสองพรรค และกลุ่มเป้าหมายยังอยู่ในวงจำกัด 2) เมื่อเปรียบเทียบการสื่อสารทางการเมืองของพรรคประชาธปัตย์กับพรรคเพื่อไทย ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ช่วงการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 พบว่าทั้งสองพรรคได้ใช้เฟสบุคของพรรค มาใช้ประโยชน์ในแง่ของการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงระหว่างประชาชนกับพรรคการเมืองเหมือนกัน และยังมุ่งเพื่อการหาเสียงและสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้ง มีความเป็นประชานิยมทั้งสองพรรค ข้อมูลที่ปรากฎยังขาดความน่าเชื่อ คือ เพราะมีกองข่าวสารจากภายนอก ผลการศึกษายังพบว่า พรรคประชาธิปิตย์จะมีความโดดเด่นด้านนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิต ข้อความมีรายละเอียดครบถ้วนเป็นข้อความเชิงพรรณนา ส่วนพรรคเพื่อไทยจะโดดเด่นในนโยบายด้านการลงทุนโครงการขนาดใหญ่ รูปแบบข้อความสั้น กระชับ นโยบายที่นำเสนอมีความเป็นรูปธรรมเข้าใจง่าย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | พรรคประชาธิปัตย์ | th_TH |
dc.subject | พรรคเพื่อไทย | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารทางการเมือง--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง | th_TH |
dc.title | การสื่อสารทางการเมืองของพรรคประชาธิปัตย์กับพรรคเพื่อไทยผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 | th_TH |
dc.title.alternative | Political communication of Democratic Party and Pheu Thai Party for general election via social networks in 2554 B.E. | en_US |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to 1) study political communication via social networks of the Democratic Party and Pheu Thai Party for general election in 2554 B.E, and 2) compare political communication via social network of the Democratic Party and Pheu Thai Party for general election in 2554 B.E. This is the qualitative research including documentary research, contents or articles appeared on social network named facebook of the Democratic Party and Pheu Thai Party from 1 May 2554 B.E. to 30 September 2554 B.E. The data were analyzed by interpretation and descriptive analysis. The findings revealed that: 1) the political communication via facebook of the Democratic Party and Pheu Thai Party for general election in 2554 B.E was presented for 5 aspects as follows:(1) presenting the person for being the Prime Minister, (2) presenting policies, (3) showing information and movement of the party, (4) criticizing the rival party, and (5) informing news and activities of the parties, and people could show freely their opinions via their personal facebook. However, it was noticed that opinions shown in facebook were supporting and admirable statements, and they expressed their opinions about the political communication of the two parties, and the target group was limited, 2) the comparison of the political communication via social network of the Democratic Party and Pheu Thai Party for general election in 2554 B.E. showed that both parties also used their facebook to communicate directly with the people and the parties, electioneer and create satisfaction for the electorates. Both parties are populism. The appeared information lacked in reliability because it was depended on the external information. The results showed that the Democratic Party had the remarkable quality of life development policy because it was full of descriptive details. The highlight of the Pheu Thai Party policy was the megaprojects in investment. The description was presented precisely, concretely and simply. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
128676.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License