Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5187
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิติพัฒน์ เมฆขจรth_TH
dc.contributor.authorฐานิวรรณ ดาวจันทร์, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-30T03:59:00Z-
dc.date.available2023-03-30T03:59:00Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5187en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดความรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง สำหรับผู้ป่วยที่รับการผ่าตัดกระลูกสันหลัง (2) เปรียบเทียบความรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง ของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง ก่อนและหลังการใช้ชุดความรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง และ (3) เปรียบเทียบความรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง ของผู้ป่วยที่ได้รับความรู้จาก การใช้ชุดความรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง กับผู้ป่วยที่ได้รับความรู้ตามปกติ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดกระดูกสันหลัง ที่มารับการผ่าตัดที่ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลศรีสะเกษ ในช่วงเดือน สิงหาคม ถึง กันยายน 2557 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 20 คนแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 10 คนและกลุ่มควบคุม 10 คน ผู้วิจัยได้ใช้ชุดความรู้กับผู้ป่วย 1 วันก่อนรับการผ่าตัด และ วันที่ 2 หลังผ่าตัด ใช้เวลาคนละประมาณ 40-50 นาทีต่อครั้งเครื่องมือที่ใช้ได้แก่ ชุดความรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง และแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง ที่มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .71 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การทดสอบแมนวิทนีย์ และการทดสอบวิลคอกซัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการได้รับความรู้จากชุดความรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง ผู้ป่วยมีความรู้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) ผู้ป่วยที่ได้รับ ความรู้จากชุดความรู้เกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าผู้ป่วยที่ได้รับความรู้ ตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกระดูกสันหลัง--ศัลยกรรมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดความรู้สำหรับผู้ป่วยผ่าตัดกระดูกสันหลังth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a knowledge package for spinal surgery patientsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to develop a knowledge package on spinal surgery for spinal surgery patients; (2) to compare scores of knowledge on spinal surgery of spinal surgery patients before and after using the knowledge package on spinal surgery; and (3) to compare scores of knowledge on spinal surgery of spinal surgery patients who used the knowledge package with the counterpart scores of spinal surgery patients who received normal information. The sample for this study consisted of 20 purposively selected patients who were treated with spinal surgery at Si Sa Ket Hospital during August and September of the year 2014. They were randomly divided into the experimental and control groups each of which consisted of 10 patients. The researcher had the patients in the experimental group study a knowledge package on spinal surgery one day before they underwent the surgery and on the second day after the surgery. The study period covered 40 - 50 minutes each time. The employed research instruments were a knowledge package on spinal surgery, and a test of knowledge on spinal surgery, with reliability coefficient of .71. Statistical procedures employed for data analysis were the Mann-Whitney U Test and the Wilcoxon Matched-Pairs Signed Ranks Test. Research findings revealed that (1) after obtaining knowledge from the knowledge package on spinal surgery, spinal surgery patients had increased their knowledge on the topic at the .01 level of statistical significance; and (2) the mean score of knowledge on spinal surgery of patients who had obtained knowledge from the knowledge package on the topic was higher than the counterpart mean score of patients who received normal information on the topic at the .01 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_149638.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons