Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/522
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้าth_TH
dc.contributor.authorงามพรต พรหมมานต, 2536-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T08:30:33Z-
dc.date.available2022-08-11T08:30:33Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/522-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่องภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ศึกษากรณีการหักลดหย่อนภาษีของสามีและภรรยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิจัย เรื่อง 1) ความเหมาะสมของการหักค่าลดหย่อนภาษีเงินได้ของ บุคคลธรรมดาตามประมวลรัษฎากร เฉพาะเรื่องค่าลดหย่อนภาษีเงินได้สามีและภรรยา 2) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและช่องว่างทางกฎหมายเกี่ยวกับการหักค่าลดหย่อนภาษีเงินได้ของสามีและภรรยา และ 3) เสนอแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับค่าลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสามีและภริยา การวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการศึกษาจากกฎหมายรัษฎากรไทยและกฎหมายต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง คำสั่ง ระเบียบ แนวปฏิบัติ คำพิพากษาของศาล ตำราทางกฎหมาย รวมถึงการวิเคราะห์เอกสารและงานวิทยานิพนธ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์และเสนอแนวทางในการปรับปรุงการลดหย่อนภาษีเงินได้ของสามีและภรรยา ผลการศึกษาพบว่า 1) เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและหลักการของกฎหมายเกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ในการหักค่าลดหย่อนภาษีของสามีและภริยา 2) เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายของประเทศไทยและมาตรการของต่างประเทศ 3) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและช่องว่างทางกฎหมายเกี่ยวกับการหักค่าลดหย่อนภาษีเงินได้ของสามีและภรรยา 4) เสนอแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับค่าลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสามีและภริยา การหักค่าลดหย่อนภาษีดังกล่าวข้างต้นนั้นไม่เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน เนื่องจากราคาสินค้าที่แพงขึ้น อันมีผลต่อค่าใช้จ่ายในครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น ภาระค่าใช้จ่ายบุตรและภาระในการดูแลคนภายในครอบครัวมีความจำเป็นมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้เป็นปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นในแต่ละครอบครัวและเป็นสภาวะจำยอมของสามีและภรรยาที่ต้องใช้จ่าย ดังนั้นเพื่อบรรเทาภาระในการชำระภาษีดังกล่าวรัฐบาลรวมถึงหน่วยงานต่างๆ ควรเพิ่มการลดหย่อนภาษีให้ทั้งฝ่ายสามีและภรรยาตามมาตรา 47 แห่งประมวลกฎหมายรัษฎากรให้มากขึ้น ด้วยเหตุนี้จึงเสนอแนวคิดในการปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายเรื่องการหักค่าลดหย่อนภาษีข้างต้นเนื่องจากการหักค่าลดหย่อนดังกล่าวนั้นยังไม่เป็นธรรมและเอื้ออำนวยครอบครัวส่วนใหญ่ในการดำรงชีวิตขั้นพื้นฐาน การเพิ่มค่าลดหย่อนให้มากขึ้นกว่าเดิมนั้นเป็นมาตรการที่สอดคล้องกับภาวะทางเศรษฐกิจที่รายจ่ายในการดูแลครอบครัวสูงขึ้น นอกจากจะเป็นการบรรเทาภาษีของสามีและภรรยาแล้วนั้น ยังสร้างความมั่นคงให้แก่ชีวิตและครอบครัวได้อีกด้วย การปรับปรุงโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา รวมทั้งภาษีเงินได้ของสามีภรรยาจะนำไปสู่ความมั่นคงของสถาบันครอบครัว อันเป็นสถาบันขั้นต้นในสังคม ที่จะนำไปสู่ความมั่นคงของประเทศชาติในอนาคตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา--การหักลดหย่อนth_TH
dc.subjectสามีและภรรยา--ภาษีth_TH
dc.titleภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาศึกษากรณีการหักลดหย่อนภาษีของสามีและภรรยาth_TH
dc.title.alternativePersonal income tax, a case study on tax allowance for married coupleth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research of personal income tax, case study of tax allowance for married couple has the following objectives (1) the appropriate income tax allowance for the married couple in according to the Revenue Code of the personal income tax (2) to analyze problems and legal gaps regarding the allowance of personal income tax and (3) to propose the guidelines for improving the law on personal income tax allowance for the married couple. This research is a qualitative research compesing of the study of The Revenue Code of Thai laws and related International laws, legal textbooks, governmental orders, regulations and guidelines for tax payments as well as other thesis in order to analyzed and synthesized the tax allowances for the married couple. The study found that (1) to study the history and principles of law on personal income tax in the allowance of married couple ( 2 ) to study legal measures in Thai laws and International laws ( 3 ) to analyze problems and legal gaps regarding the allowance of personal income tax (4) to propose the guidelines for improving the law on personal income tax allowance for the married couple. The tax allowance is not suitable for the current economic situations because price of goods are higher. These can increase the expenses of the family whether children or family member. The tax allowance can be considered as financial help for many married couples. The way to develop the tax structures in this research should lead to the family’s stability and finally to national stability because family is the greund social institute of the nation. Leading to stability of the family institution in the future.en_US
dc.contributor.coadvisorชนินาฎ ลีดส์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdf21.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons