Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5245
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจรth_TH
dc.contributor.authorดุลย์ สีมา, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-31T03:57:59Z-
dc.date.available2023-03-31T03:57:59Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5245en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความรับผิดชอบต่อสังคมของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว 2) เปรียบเทียบความรับผิดชอบของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวและกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวปกติ และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเมืองพญาแลวิทยา จํานวน 2 ห้อง 74 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จากนั้นได้ทำการสุ่มอย่างง่ายเพื่อกําหนดเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดความรับผิดชอบต่อสังคม มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96 2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม จํานวน 14 กิจกรรม และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมมีค่าความเที่ยง เท่ากับ 97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรับผิดชอบต่อสังคมสูงขึ้นภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ภายหลังการทดลองนักเรียนกลุ่มทดลองทีใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว มีความรับผิดชอบต่อสังคมสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) นักเรียนกลุ่มทดลองมีความพึงพอใจต่อการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมในระดับมากที่สุด โดยมีคะแนนรวมเฉลี่ย 4.57 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.52th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการแนะแนว--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการแนะแนว--เครื่องมือth_TH
dc.subjectความรับผิดชอบในเด็กth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา.th_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเมืองพญาแลวิทยา จังหวัดชัยภูมิth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to enhance social responsibility of Mathayom Suksa IV students at Muang Phayalae Wittaya School in Chaiyaphum Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the levels of social responsibility of experimental group students before and after using a guidance activities package; (2) to compare social responsibility of the experimental group students who used the guidance activities package with that of the control group students who used normal guidance activities; and (3) to study the satisfaction of Mathayom Suksa IV students with using the guidance activities package to enhance social responsibility. The research sample consisted of 74 Mathayom Suksa IV students in two intact classrooms of Mueang Phaya Lae Wittaya School in the 2019 academic year, obtained by cluster sampling. Then one classroom was randomly assigned as the experimental group students; the other classroom, the control group students. The employed research instruments were (1) a scale to assess social responsibility, with reliability coefficient of 0.96; (2) a guidance activities package to enhance social responsibility, with 14 guidance activities; and (3) a questionnaire to assess satisfaction with using the guidance activities package to enhance social responsibility, with reliability coefficient of 0.97. The employed statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the post-experiment mean score on social responsibility of the experimental group students after using the guidance activities package was significantly increased over their pre-experiment counterpart mean score at the .05 level of statistical significance; (2) after the experiment, the post-experiment mean score on social responsibility of the experimental group students who used the guidance activities package was significantly higher than the post-experiment counterpart mean score of the control group students who used normal guidance activities at the .05 level of statistical significance; and (3) the experimental group students were satisfied with using the guidance activities package to enhance social responsibility at the highest level, with the rating mean of 4.57 and standard deviation of 0.52.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_165711.pdfเอกสารฉบับเต็ม29.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons