Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5271
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสิรากรณ์ พูลสวัสดิ์, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-02T15:16:39Z-
dc.date.available2023-04-02T15:16:39Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5271-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารเกี่ยวกับการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ (2) ศึกษาการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บริหารกับการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ และ (4) ศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ จำนวน 331 คนโดย สุ่มแบบแบ่งชั้นโดยใช้ขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 และ.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบชั้นตอน ผลการวิจัยปรากฏว่า(1) ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ในภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมากเรียงตามลำดับดังนี้ ภาวะผู้นำแบบให้มีส่วนร่วม ภาวะผู้นำแบบสนับสนุน ภาวะผู้นำแบบมุ่งสุ่ความสำเร็จ และภาวะผู้นำแบบสั่งการ (2) การเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ในภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับ ดังนี้ การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมการเรียนรู้ และการพัฒนาวิชาชีพ ทีมร่วมแรงร่วมใจ ภาวะผู้นำร่วม โครงสร้างสนับสนุนชุมชน และชุมชนกัลยาณมิตร (3) ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ.05 และ (4) ภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพใน สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ ได้แก่ ภาวะผู้นำแบบให้มีส่วนร่วม ภาวะผู้นำ แบบสั่งการ และภาวะผู้นำแบบมุ่งความสำเร็จth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.subjectชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพth_TH
dc.subjectชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ--ไทย--กระบี่th_TH
dc.titleภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่th_TH
dc.title.alternativeLeadership of administrator affecting the promotion of professional learning community in schools under Krabi Primary Education Service Area Officesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the leadership on promotion of professional learning community of administrators in schools under Krabi Primary Education Service Area Offices; (2) to study the promotion of professional learning community in schools under Krabi Primary Education Service Area Offices; (3) to study the relationship between leadership of administrator and promotion of professional learning community in schools under Krabi Primary Education Service Area Offices: and (4) to study leadership of administrator affecting the promotion of professional learning community in schools under Krabi Primary Education Service Area Offices. The research sample consisted of 331 teachers in schools under Krabi Primary Education Service Area Offices, obtained by stratified random sampling based on school size. The instrument used was a questionnaire with reliability coefficients of .92 and .95. Statistics used in data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The findings indicated that (1) the overall and specific aspects of leadership of administrators in schools under Krabi Primary Education Service Area Offices were rated at the high level and specific aspects of leadership could be ranked based on their rating means as follows: the participatory leadership, the supportive leadership, the achievement-oriented leadership, and the commanding leadership; (2) the overall and specific aspects of promotion of professional learning community in schools under Krabi Primary Education Service Area Offices were rated at the high level and specific aspects could be ranked based on their rating means as follows: the creation of shared vision, the learning and professional development, the collaborative work team, the shared leadership, the community supporting structure, and the friendly community; (3) leadership of school administrators correlated positively and significantly at the .05 level with the promotion of professional learning community; and (4) specific aspects of leadership of administrator affecting the promotion of professional learning community in schools under Krabi Primary Educational Service Area Office were the participatory leadership, the commanding leadership, and the achievement-oriented leadership.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
164017.pdf24.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons