Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5303
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเพ็ญนภา ดวงวรรณะ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-03T04:23:54Z-
dc.date.available2023-04-03T04:23:54Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5303-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การรับรู้ของประชาชนในจังหวัดสระบุรีที่มี ต่อบทบาทขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรีในการพัฒนาท้องถิ่น (2) ความคาดหวังของ ประชาชนในจังหวัดสระบุรีที่มีต่อบทบาทขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรีในการพัฒนา ท้องถิ่น (3) เปรียบเทียบการรับรู้และความคาดหวังของประชาชนในจังหวัดสระบุรีทีมีต่อบทบาท ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรีในการพัฒนาห้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างสำหรับการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปี ขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ใน เขตพื้นที่ จังหวัดสระบุรี จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม สถิติสำหรับ การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แบบทดสอบค่าที แบบทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) การรับรู้ของประชาชนในจังหวัดสระบุรีที่มีต่อบทบาทของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรีในการพัฒนาห้องถิ่น โดยภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับปานกลาง (2) ความคาดหวังของประชาชนในจังหวัดสระบุรีที่มีต่อบทบาทขององค์การบริหารส่วนจังหวัด สระบุรีในการพัฒนาห้องถิ่นโดยภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับมาก (3) เปรียบเทียบการรับรู้และความ คาดหวังของประชาชนในจังหวัดสระบุรีในการพัฒนาท้องถิ่น โดยใช้ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถาม พบว่าข้อมูลด้าน เพศ รายได้ และสถานภาพสมรส แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ ทางสถิติ และข้อมูลด้าน อายุ และระดับการศึกษา มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.337-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรีth_TH
dc.subjectการพัฒนาชุมชน--สระบุรี.--ไทยth_TH
dc.titleการรับรู้และความคาดหวังของประชาชนในจังหวัดสระบุรีที่มีผลบทบาทขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรีในการพัฒนาท้องถิ่นth_TH
dc.title.alternativePerception and expectation of people in Saraburi Provincial Administrative Organization Concerning on the local developmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.337-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were :(l)to study the perception of the people toward Saraburi provincial administration organization concerning on the local development; (2) to study the expectation of the people toward Saraburi provincial administration organization concerning on the local development and (3) to compare the differences between perception and expectation of the people in Saraburi provincial administration organization concerning on the local development. The research sample consisted of 400 people with the age of 18 years or more who were residing in the areas under jurisdiction of Saraburi province. The employed research instrument was a questionnaire. Statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and One - way ANOVA. Research findings were as follows: (1) Perception of the people in Saraburi provincial toward local development was at moderate level. (2) Expectation of the people in Saraburi provincial toward local development was at high level. (3) Comparing differences between a perception and expectation of the people in Saraburi province in local development found that sex, income, and status had no significant relationships However, age and educational level had significant relationshipsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107636.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons