Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5309
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอำนวย ตาเม่น-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-04-03T07:01:51Z-
dc.date.available2023-04-03T07:01:51Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5309-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) เปรียบเทียบการให้บริการสาธารณะขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลุ่มตัวอย่างทีศึกษา คือ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พนักงานเทศบาลและ พนักงานส่วนตำบลในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา รวบจำนวน 341 คน เก็บรวบรวมโดยใช้ แบบสอบถาม สถิติทีใช้ในการวิเคราะหข้อมูล ได้แก่, ร้อยละ ค่าเฉลีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ ทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า 1) การให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบการให้บริการสาธารณะขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 คือ ด้าน โครงสร้างพื้นฐาน ด้านการวางแผน ส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว และด้าน การบริหารจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ส่วนด้านงานส่งเสริมคุณภาพ ชีวิต ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย และด้านคิลปะวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นไม่แตกต่างกัน ในด้านข้อเสนอแนะของกลุ่มตัวอย่าง เห็นว่า รัฐบาลควรจัดสรรสัดส่วนรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.333-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น--บริการสาธารณะth_TH
dc.subjectบริการสาธารณะท้องถิ่น--ไทย--พระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.titleการให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeService delivery of the local government organizations in Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.333-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: 1) to study service delivery of local government organizations in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province and 2) to compare service delivery of local government organizations in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. The sample group used in this study was selected from the board of local government, Municipal officers and Subdistrict officers in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province totaling 341 people. The data were collected by the questionnaire which was Constructed and developed by the researcher. Then the data were analyzed by percentage, average, standard deviation, chi-square, t-test, F-test and analysis of variance. Research findings were as follows ะ 1) Public services of local government organization in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province was at “high” level and 2) Comparison of service delivery of local government organizations in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province found differences with a significance at the 0.05 level in the areas of structure, planning, investment, commerce, tourism, management and conservation natural environment. However, supportting quality of life, community and social orderly, art, culture, customs and local wisdoms had no differences. The sample groups had reccomments that the government should allocate more income to the local government organizationsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107638.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons