Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5385
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ส่งเสริม หอมกลิ่น | th_TH |
dc.contributor.author | แสงอุษา ส่งแสง, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-04-04T07:06:05Z | - |
dc.date.available | 2023-04-04T07:06:05Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5385 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของฝ่ายจัดการสหกรณ์ 2) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์ 3) ระดับ ความสําคัญของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์ และ 4) ข้อเสนอแนะในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดภูเก็ตการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ที่ปฏิบีติงานในสหกรณ์ออมทรัพยแ์ละสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนของจังหวัดภูเก็ต ทั้งหมดจำนวน 15 แห่ง รวมฝ่ายจัดการสหกรณ์ทั้งหมด 65 คน เก็บข้อมูลจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขเอมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษาพบว่า 1) ฝ่ายจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดภูเก็ต ส่วนใหญ่สังกัดสหกรณ์ออมทรัพย ์เพศหญิง มีอายุเฉลี่ยระหว่าง 31 – 40 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีระดับ เงินเดือน 10,001 – 20,000 บาท ตำแหน่งเจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี ระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อ ยกว่า 5 ปี 2) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดภูเก็ต โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ด้านความสําเร็จลุล่วงของงาน ด้านความสามารถในการใช้ทรัพยากร และด้านความสามารถในการปฏิบัติได้ตามแผน ตามลำดับ 3) ระดับความสำคัญของปัจจีย ที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการตามระดับ การปฏิบัติของสหกรณ์โดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในการปฏิบีติงาน ด้านนโยบายและการบริหารองค์กร ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ และด้านความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานตามลำดับ 4) ข้อเสนอแนะในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดภูเก็ต คือ การให้มีการศึกษา อบรม สัมมนา เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏิบัติงาน และให้คณะกรรมการมีการประสานงานกับฝ่ายจัดการเพื่อจะได้ทพงานไปในทิศทางเดียวกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สหกรณ์--การจัดการ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--สหกรณ์ | th_TH |
dc.title | ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดภูเก็ต | th_TH |
dc.title.alternative | Operational efficiency by management teams of savings cooperatives and credit unions cooperatives in Phuket Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1 ) the general status of management teams of savings cooperatives and credit unions in Phuket Province; 2) the perceived efficiency of their work; 3) the level of importance of factors related to the efficiency of their work; and 4 ) suggestions for improving the efficiency of their work. This was a survey research. The study population was all 65 management teams of all 15 savings cooperatives and credit unions in Phuket Province. Data were collected from the entire population using a questionnaire and were statistically analyzed using frequency, percentage, mean and standard deviation.The results showed that 1) the majority of savings cooperative management teams were female, in the 31-40 age range, educated to bachelor’s degree, and made income of 10,001-20,000 baht a month. Most were employed in finance and accounting positions and had less than 5 years of work experience. 2) The management teams work efficiency was perceived to be “high” level in all factors, namely, work satisfaction, success of the work, ability to use resources and ability to fulfill work plans. 3) The following factors were found to be related to the management teams work efficiency to a high level: work environment, organizational policies and management, compensation and benefits, and career advancement, in that order. 4) Suggestions for improving the work efficiency of management teams of savings cooperatives and credit unions are to provide opportunities for education, training, and seminars to upgrade work skills and to have the cooperatives’ directors coordinate more closely with the management teams for greater cohesion. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_151020.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License