Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/541
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมสรวง พฤติกุล | th_TH |
dc.contributor.author | วุฒิพงษ์ ฆารวิพัฒน์, 2511- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T11:01:19Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T11:01:19Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/541 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการเผยแพร่และสื่อที่ใช้ในการเผยแพร่สารสนเทศด้านสุขภาพ บทบาทผู้ให้บริการสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคในการเผยแพร่สารสนเทศด้านสุขภาพของผู้ให้บริการสุขภาพของสถานีอนามัยจังหวัดกาฬสินธุ์ และเพื่อพัฒนาแนวทางการเผยแพร่สารสนเทศด้านสุขภาพของผู้ให้บริการสุขภาพของสถานีอนามัยจังหวัดกาฬสินธุ์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ให้บริการสุขภาพของสถานีอนามัยจังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 214 คน ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญเลือกแบบเจาะจง จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการประมวลแนวคิดจากการถอดเทปการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ให้บริการสุขภาพใช้วิธีการเผยแพร่สารสนเทศด้านสุขภาพในระดับมากคือ การแนะนำและตอบคำถามความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ การสอนความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ การสาธิตให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ การบรรยายอภิปรายในหัวข้อเกี่ยวกับสุขภาพ และการจัดฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ สุขภาพ สื่อที่ใช้ในการเผยแพร่สารสนเทศด้านสุขภาพระดับมาก คือ สื่อบุคคล ด้านบทบาทในการเผยแพร่สารสนเทศด้านสุขภาพของผู้ให้บริการสุขภาพของสถานีอนามัยในระดับมาก คือ การวิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการด้านสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคในการเผยแพร่สารสนเทศด้านสุขภาพในระดับมาก คือ ด้านงบประมาณ ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ และเทคโนโลยี และแนวทางการเผยแพร่สารสนเทศด้านสุขภาพโดยผู้ให้บริการสุขภาพของสถานีอนามัยที่กำหนด ประกอบด้วย บทบาทของผู้ให้บริการสารสนเทศด้านสุขภาพ วิธีการและสื่อที่ใช้ในการเผยแพร่สารสนเทศด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.349 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแนะแนวสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | สารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | สุขภาพ | th_TH |
dc.title | การเผยแพร่สารสนเทศด้านสุขภาพ โดยผู้ให้บริการสุขภาพของสถานีอนามัยจังหวัดกาฬสินธุ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Dissemination of health information by health care providers of Health Centers, Kalasin Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.349 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study the methods and media used for dissemination of health information by the health care providers of the Health Centers, Kalasin Province, roles of the health care providers, and problems and obstacles to their dissemination of health information; and to develop guidelines for dissemination of health information at their centers. This research used quantitative and qualitative methods. Samples were 214 health care officers of the Health Centers, Kalasin Province and 7 purposive selected persons with expertise and experience in health information dissemination. Questionnaires, opinions survey questions and interview were tools for data collecting. The statistics used for analyzing data were percentage, means, standard deviation, and qualitative data were transcribed, categorized and summarized. The research results were that methods used for health information dissemination by health care officers at high level were giving advice on health information and answering questions, instructing about health information, demonstrating health care, giving lectures and discussions about health care and offering training on health care. Media used at high level were health care officers. The roles of the health care officers were to analyze the situations, problems and needs for health care. They were ranked at high level. Problems and obstacles on dissemination of health information at high level were limitation of budget, media, equipment and technology. The guidelines proposed for health information dissemination by the health care providers consisted of roles of health care officers, methods and media used for health information dissemination. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชุติมา สัจจานันท์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ทัศนีย์ เกริกกุลธร | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (2).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License