Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5488
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผุสดี กุฎอินทร์th_TH
dc.contributor.authorพัชรินทร์ สติมั่น, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-04-05T07:26:28Z-
dc.date.available2023-04-05T07:26:28Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5488en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของครู ประถมศึกษาในอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาในอำเภอเมือง จังหวัด เพชรบูรณ์ จํานวน 160 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ ครูผู้สอน ภาษาอังกฤษจาก 5 โรงเรียน โรงเรียนละ 2 คน รวม 10 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย คือแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 87 และแบบสัมภาษณ์ครูผู้สอน ภาษาอังกฤษ การคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนข้อมูลที่ได้ จากแบบสอบถามปลายเปิดและการสัมภาษณ์ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยเกี่ยวกับปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของครูประถมศึกษาโดยภาพรวมและ แลกเป็นรายด้านพบว่า ครูมีปัญหาในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ในด้านครูผู้สอน พบว่า ครูผู้สอนขาดความรู้พื้นฐานและความถนัดด้านภาษาอังกฤษ เนื่องจากครูจำนวนมากไม่จบวิชาเอกภาษาอังกฤษ โดยตรง ค้านการนำหลักสูตร ไปใช้ พบว่า ครูผู้สอนขาดความรู้ความเข้าใจในการนำหลักสูตรไปใช้ ด้านสื่อ การเรียนการสอนและแหล่งเรียนรู้ พบว่า งบประมาณในการผลิตและจัดหาสื่อ ไม่เพียงพอ ครูผู้สอนไม่ใช้สื่อและ เทคโนโลยีที่ทันสมัย ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน พบว่า ครูผู้สอนมีปัญหาการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ อ่านภาษาอังกฤษ และขาดทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผล พบว่า การใช้ เครื่องมือวัดและประเมินผลไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านคุณภาพผู้เรียน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนต่ำ และนักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ข้อเสนอแนะว่า หน่วยงานที่มีหน้าที่ผลิตครูควรสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้มีความรู้ความสามารถเข้ามาเรียน วิชาเอกภาษาอังกฤษ จัดอบรม สัมมนาเพื่อพัฒนาสมรรถนะของครูผู้สอนภาษาอังกฤษทั้งผู้ที่จบวิชาเอก ภาษาอังกฤษและผู้ที่ไม่ได้จบวิชาเอกนี้อย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งสนับสนุนงบประมาณด้านการผลิต จัดหาสื่อและ เทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีคุณภาพมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เพียงพอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษาอังกฤษ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--เพชรบูรณ์th_TH
dc.titleปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของครูประถมศึกษาในอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeProblems in english instruction of primary school teachers in Mueang District, Phetchabun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_127326.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons